Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48702
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา ศรีไชยรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์ | - |
dc.contributor.author | สถาพร สุวรรณรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-10T04:56:50Z | - |
dc.date.available | 2016-06-10T04:56:50Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.isbn | 9745813893 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48702 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en_US |
dc.description.abstract | ทำการศึกษาความเป็นพิษของเททิลพาราไธออนที่ขนาดความเข้มข้น 1-90 ไมโครกรัม/ลิตร (ppb) ในกุ้งกุลาดำ 7 กลุ่ม พบว่าค่า LC50 ภายใน 96 ชั่วโมง เท่ากับ 54 ppb ในขณะที่ได้รับยาฆ่าแมลง กุ้งทุกกลุ่มแสดงอาการเป็นพิษออกมา โดยมีอาการกระวนกระวาย ดีดตัวอย่างรวดเร็วเคลื่อนไหวอย่างไม่มีทิศทางที่แน่นอน กุ้งในกลุ่มที่มีความเข้มข้นสูงตายภายใน 6-24 ชั่วโมง กุ้งที่รอดตายทุกกลุ่มที่ได้รับยาฆ่าแมลง กินอาหารได้ลดน้อยละ และยังคงมีอาการกระวนกระวาย อาการแสดงของความเป็นพิษ และอัตราการตายของกุ้งที่ได้รับยาฆ่าแมลงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของยาฆ่าแมลงที่ให้ สมรรถนะของเอ็นไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในเลือดกุ้งที่ได้รับยาไม่สอดคล้องกับความเป็นพิษที่ได้รับ ในขณะที่สมรรถนะของเอ็นไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในเส้นประสาท และกล้ามเนื้อลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ในทุกกลุ่ม เปอร์เซนต์ของสมรรถนะของเอ็นไซม์ที่ลดลงไปขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของเมททิลพาราไธออนที่ได้รับ จากการตรวจทางจุลพยาธิวิทยาพบว่าในความเข้มข้น 1-50 ppb เซลตับและตับอ่อน และเซลกล้ามเนื้อแสดงการตายของเซล ส่วนในกลุ่มที่ได้รับเมททิลพาราไธออน 75-90 ppb มีเลือดคั่งภายในเซลไม่พบเซลตายอาการที่แตกต่างกันเนื่องจากความเข้มข้นของเมททิลพาราไธออนที่ได้รับและระยะเวลาที่สัมผัสกับยาฆ่าแมลง ผลการทดลองที่ได้จะเห็นว่าการวัดสมรรถนะของเอ็นไซม์โฆลีนเอสเทอเรสในกล้ามเนื้อและในเส้นประสาทของกุ้งกุลาดำ ที่ลดลงไปอย่างมากเนื่องจากยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต สามารถนำมาใช้เป็นตัวบ่งชี้ ความเป็นพิษของยาฆ่าแมลงกลุ่มนี้ได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | 7 groups of Penaeus monodon were exposed to methyl parathion at the concentration of 1 to 90 mcg/litre (ppb) and the LC50 at 96 hours interval was found to be 54 ppb. During exposure to methyl parathion, clinical signs of intoxication occurred in every treated groups. The prawn were restless and showed their fast erratic swimming (hyperexcitability), loss of coordination movement and subsequently equilibrium. Some of them, especially in the high concentration groups died in 6 to 24 hours. The survival prawns of every treated groups were found to be appetit lose and still restless. Clinical sign and mortality rate of intoxicated prawn were dose dependent. Cholinesterase activity in haemolymph of treated prawn was not correlated with their toxicity, whereas the enzyme activities in nerve and muscle cholinesterase activities decreased with increasing doses of methyl parathion applied. The pathological examination showed that there were muscle necrosis, F-cell cytoplasm vacuolation, hyperemia and hepatopancreatic cell necrosis in the group treated with methyl parathion 1-50 ppb. No pathological changed was found in the groups exposed to 75-90 ppb. Concentration of methyl parathion and duration of exposure to insecticide were also discussed to be the main factors. All of the results suggested that the strong inhibition of cholinesterase in muscle and nervous tissue of Penaeus monodon, due to organophosphate insecticides is a good indicater of their poisoning. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- วิทยานิพนธ์ | en_US |
dc.subject | กุ้งกุลาดำ -- การเลี้ยง | en_US |
dc.subject | เอนไซม์โพลีนเอสเทอเซส | en_US |
dc.subject | เมททัลพาราไรออน | en_US |
dc.subject | ยากำจัดศัตรูพืช | en_US |
dc.title | การศึกษาพิษเฉียบพลันของเมททิลพาราไธออนต่อกุ้งกุลาดำ | en_US |
dc.title.alternative | Acute toxicity of methyl parathion in penaeus monodon fabricius | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เภสัชวิทยา (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Supatra.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | jirasak.t@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sataporn_sa_front.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sataporn_sa_ch1.pdf | 3.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sataporn_sa_ch2.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sataporn_sa_ch3.pdf | 5.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sataporn_sa_ch4.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sataporn_sa_back.pdf | 5.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.