Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAran Incharoensakdi-
dc.contributor.advisorSomkiat Piyatiratitivorakul-
dc.contributor.authorSaranya Phunpruch-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2016-06-12T10:43:09Z-
dc.date.available2016-06-12T10:43:09Z-
dc.date.issued1994-
dc.identifier.isbn9745837083-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49070-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1994en_US
dc.description.abstractThe best solvent for beta-carotene extraction of Spirulina was methanol. The optimal conditions for Spirulina isolated from Makkasan pond to produce high yield of beta-carotene were prepared by adjusting the components of Zarrouk medium to contain 1.25 g/l NaNO3, 0.25 g/l K2 HPO4, 0.1 g/l MgSO4 and without K2SO4. An increase of NaCl concentrations in the medium resulted in an increased beta-carotene content whereas growth was obviously decreased. Conditions which yielded the highest beta-carotene content of Spirulina were changing NaCl content from 20 to 30 g/l, adding 40 g/l of NaCl after 4-day growth as well as cultivation of Zarrouk medium containing 40 g/l of NaCl after acclimation to this concentration for 1 week. The optimal light intensity to produce high yield of beta-carotene was found to be 10,000 lux. At the same photosynthetic photon flux density, beta-carotene content of Spirulina was the highest when grown under red light followed by those grown under blue light and white light, respectively. Norflurazon was a strong inhibitor for beta-carotene production whereas diphenylamine was a medium inhibitor and 2,4-dinitrophenol was a weak inhibitor for beta-carotene production. The results of pilot scale outdoor cultivation were similar to those in laboratory scale cultivation. Growth and beta-carotene content were dependent on other environmental factors such as light intensity, temperature and NaCl concentration. Spirulina acquired from pilot scale cultivation was dried. It was found that freeze drying was the best method of drying. Partial purification of beta-carotene was accomplished by only 1 successive run on Silica G-60 column with 97% yield. The optimal storage temperature for Spirulina with respect to beta-carotene loss was -70℃ and 10% sodium metabisulphite slightly protected Spirulina against beta-carotene loss.en_US
dc.description.abstractalternativeทำการศึกษาตัวทำละลายที่เหมาะสมในการสกัดเบต้าแคโรทีนจากสาหร่ายไปรูไลน่า พบว่าเมทธานอลเป็นตัวทำละลายที่ดีที่สุดในการสกัดเบต้าแคโรทีน จากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูไลน่าที่แยกมาจากบึงมักกะสันเพื่อผลิตเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูง โดยนำสาหร่ายมาเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อซาร์รูคที่เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของโซเดียมไนเตรต ไดโปตัสเซียมซัลเฟต ไดโปตัสเซียมไฮโดรเจนฟอสเฟต และแมกนีเซียมซัลเฟต พบว่าสภาวะที่เหมาะสมคือ โซเดียมไนเตรต 1.25 กรัมต่อลิตร ไดโปตัสเซียมไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.25 กรัมต่อลิตร แมกนีเซียมซัลเฟต 0.1 กรัมต่อลิตร โดยไม่จำเป็นต้องใส่ไดโปตัสเซียมซัลเฟตลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ จากการศึกษาผลของเกลือต่อการเจริญและการผลิตเบต้าแคโรทีน พบว่าเมื่อความเข้มข้นของเกลือเพิ่มขึ้น การเจริญของสาหร่ายลดลงอย่างเด่นชัด ในขณะที่การผลิตเบต้าแคโรทีนสูงขึ้น สภาวะที่สาหร่ายผลิตเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูง คือ การเปลี่ยนระดับความเข้มข้นของเกลือจาก 20 กรัมต่อลิตร ไปเป็น 30 กรัมต่อลิตร และการเติมเกลือให้มีความเข้มข้นเป็น 40 กรัมต่อลิตร หลังจากเลี้ยงสาหร่ายให้เจริญเป็นเวลา 4 วัน นอกจากนี้เมื่อทำการเลี้ยงสาหร่ายในอาหารที่มีความเข้นข้นของเกลือ 40 กรัมต่อลิตร ให้เคยชินเป็นเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นนำสาหร่ายมาเลี้ยงในอาหารที่มีความเข้มข้นของเกลือ 40 กรัมต่อลิตร ต่อไปอีก 1 สัปดาห์ จะทำให้สาหร่ายผลิตเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูงขึ้นมาก การศึกษาความเข้มแสงและชนิดของแสงที่เหมาะสม พบว่าความเข้มแสงที่เหมาะสมสำหรับการเจริญและการผลิตเบต้าแคโรทีนคือ 10,000 ลักซ์ และเมื่อทำการเพาะเลี้ยงที่ระดับความเข้มแสงเท่ากันทั้งในแสงสีแดง แสงสีน้ำเงินและแสงสีขาวพบว่าสาหร่ายผลิตเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูงตามลำดับดังนี้ แสงสีแดง >แสงสีน้ำเงิน>แสงสีขาว จากการศึกษาตัวยับยั้งชนิดต่าง ๆ ต่อการผลิตเบต้าแคโรทีนของสาหร่ายสไปรูไลน่าพบว่า นอร์ฟลูราซอนเป็นตัวยับยั้งอย่างแรง ไดฟีนิลามีนเป็นตัวยับยั้งอย่างปานกลาง และ 2,4- ไดไนโตรพินอลเป็นตัวยับยั้งอย่างอ่อน ผลของการขยายขนาดการเพาะเลี้ยงสาหร่ายบริเวณกลางแจ้งสอดคล้องกับผลที่ได้ในระดับปฏิบัติการ โดยการเจริญและการผลิตเบต้าแคโรทีนขึ้นกับปัจจัยสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ ความเข้มแสง อุณหภูมิ และความเข้มข้นของเกลือ นำสาหร่ายที่ได้จากการขยายขนาดมาทำให้แห้ง พบว่าการทำให้แห้งโดยสุญญากาศที่อุณหภูมิต่ำเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการอบแห้ง ทำการแยกเบต้าแคโรทีนจากคาโรทีนอยด์พร้อมทั้งทำให้บริสุทธิ์โดยนำไปผ่านคอลัมน์ซึลิกา จี-60 พบว่าสามารถแยกเบต้าแคโรทีนให้บริสุทธิ์ได้ผลผลิต 97% ของทั้งหมด ในการเก็บรักษาสาหร่ายสไปรูไลน่า พบว่าที่อุณหภูมิ -70 องศาเซลเซียสสาหร่ายมีการสูญเสียเบต้าแครทีนน้อยที่สุดและการเติม 10% โซเดียมเมตาไบซัลไฟด์ช่วยป้องกันการสูญเสียเบต้าแคโรทีนได้เล็กน้อยen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectสไปรูลินาen_US
dc.subjectสาหร่าย -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเพาะเชื้อen_US
dc.subjectเบตาแคโรทีน -- การผลิตen_US
dc.subjectเมทานอลen_US
dc.titleOptimization of Spirulina spp. culture for beta-carotene productionen_US
dc.title.alternativeสภาวะที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูไลน่า เพื่อผลิตเบต้าแคโรทีนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineBiotechnologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisoriaran@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorSomkiat.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saranya_ph_front.pdf12.29 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_ch1.pdf11.98 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_ch2.pdf10.37 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_ch3.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_ch4.pdf17.25 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_ch5.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Saranya_ph_back.pdf10.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.