Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49198
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรชัย อาภรณ์วิชานพ-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ ศุภวิมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-07-12T09:03:56Z-
dc.date.available2016-07-12T09:03:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49198-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากแก๊สสังเคราะห์โดยกระบวนการ แก๊สซิฟิเคชันของชีวมวล โดยใช้แก๊สซิไฟเออร์แบบฟลูอิดไดซ์เบด ที่สภาวะความดันบรรยากาศ ซึ่งใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการจำลองกระบวนการ โดยงานวิจัยนี้พิจารณาถึงชีวมวลเหลือทิ้งทางการเกษตรในประเทศไทยซึ่งมีปริมาณและศักยภาพในการใช้ผลิตไฟฟ้าได้ ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมเพื่อให้ได้สมรรถนะของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันสูงสุด พลังงานไฟฟ้าสุทธิและประสิทธิภาพทางไฟฟ้าสูงสุด ตัวแปรดำเนินการที่ศึกษา คือ อุณหภูมิแก๊สซิไฟเออร์ ความดัน แก๊สซิไฟเออร์ อัตราส่วนของไอน้ำต่อชีวมวล (S/B) อัตราส่วนของอากาศต่อไอน้ำ (A/S) สัดส่วนการป้อนชีวมวลผสมและผลของชนิดชีวมวล ผลการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงสภาวะตัวแปรดำเนินการมีผลกระทบต่อสมรรถนะของกระบวนการแก๊สซิฟิเคชัน องค์ประกอบของแก๊สสังเคราะห์ ค่าความร้อนของแก๊สสังเคราะห์ อัตราการไหลเชิงมวลของแก๊สสังเคราะห์ รวมถึงปริมาณไฟฟ้าสุทธิและประสิทธิภาพของระบบ เมื่อใช้ใบอ้อยเป็นวัตถุดิบป้อนจะให้ปริมาณไฟฟ้าสุทธิมากที่สุด และเมื่อใช้ฟางข้าวเป็นวัตถุดิบป้อนจะให้ประสิทธิภาพของระบบสูงที่สุด โดยทางเลือกที่ดีที่สุดในงานวิจัยนี้คือ การเลือกใบอ้อยเป็นวัตถุดิบป้อนปฏิบัติการในช่วงอุณหภูมิ แก๊สซิไฟเออร์ 600-900 องศาเซลเซียส อัตราป้อนไอน้ำต่อชีวมวล (S/B) เท่ากับ 0.75 และที่อัตราป้อนอากาศต่อไอน้ำ (A/S) น้อยที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeIn this work, the production of electricity from biomass-based integrated gasification combined cycle (BIGCC) with atmospheric pressure fluidized bed gasifier is investigated using commercial software to perform a simulation. Potential biomass from agricultural residue in Thailand is considered for produce electricity. We studied proper operating conditions to achieve high gasification performance, high electricity production and efficiency. The operating variables considered included gasifier temperature, gasifier pressure, steam to biomass ratio (S/B), air to biomass ratio (A/S), feedstock ratio and type of feedstock. The results were found that changing of operating condition of BIGCC affect to gasification performance, syngas composition, heating value, mass flow including net power and electricity efficiency. The highest net power can be obtained from Bagasse leaf. Rice straw has highest efficiency. Further, the most promising option is Bagasse leaf feedstock with 600-900 °C gasifier temperature, 0.75 steam to biomass ratio (S/B) and less air to steam ratio (A/S).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1476-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมen_US
dc.subjectแกสซิฟิเคชันของชีวมวลen_US
dc.subjectชีวมวลen_US
dc.subjectพลังงานชีวมวลen_US
dc.subjectCombined cycle power plantsen_US
dc.subjectBiomass gasificationen_US
dc.subjectBiomassen_US
dc.subjectBiomass energyen_US
dc.titleการจำลองและการวิเคราะห์โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจากแก๊สสังเคราะห์โดยกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันของชีวมวลen_US
dc.title.alternativeSimulation and analysis of combined cycle power plant from synthesis gas by biomass gasificationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoramornchai.a@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1476-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patcharin_su.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.