Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุรา ปานเจริญ-
dc.contributor.authorอมรรัตน์ ศรีปรีเปรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-07-13T02:57:05Z-
dc.date.available2016-07-13T02:57:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49206-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแยกแบบคัดเลือกอิแนนทิโอเมอร์ของกรดแลคติกจากสารละลาย ราซิมิก (racemic mixture) ด้วยเยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวงด้วยสารสกัดชนิดไครัล (+)-(O,O’-Dibenzoyl-(2S,3S)-tartaric acid ((+)-DBTA) ละลายอยู่ในสารละลายอินทรีย์ และสารละลายนำกลับน้ำกลั่น ลักษณะการไหลของสารละลายป้อนและสารละลายนำกลับเป็นแบบไหลสวนทางกัน ปัจจัยต่างๆที่ศึกษา ได้แก่ ความเป็นกรด-เบสของกรดแลคติกในสารละลายป้อน ความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดแลคติกในสารละลายป้อน ความเข้มข้นของสารสกัด อัตราการไหลของสารละลายป้อนและสารละลายนำกลับและจำนวนรอบในการปฏิบัติการ จากผลการทดลองพบว่าสารสกัดชนิดไครัล (+)-DBTA สามารถแยกแบบคัดเลือก อิแนนทิโอเมอร์ของสารละลายกรดแลคติกที่สังเคราะห์จากสารผสมราซิมิกของดี-แอลแลคติกแอซิดด้วยระบบเยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวงได้ โดยภาวะที่เหมาะสม คือ ค่าความเป็นกรด-เบสในสารละลายป้อนเท่ากับ 4 ความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายดี-แอลแลคติกแอซิด 6 มิลลิโมลต่อลิตร ความเข้มข้นของสารสกัดชนิดไครัล (+)-DBTA 4 มิลลิโมลต่อลิตร อัตราการไหลเท่ากันของสารละลายป้อนและสารละลายนำกลับ เท่ากับ 100 มิลลิลิตรต่อนาที การถ่ายโอนเพื่อแยกแบบคัดเลือกอิแนนทิโอเมอร์ของดี-แอลแลคติกแอซิดจากวัฎภาคสารละลายป้อนไปยังวัฎภาคสารละลายนำกลับถูกถ่ายโอนด้วยสารสกัดชนิดไครัลที่ละลายในตัวทำละลายออกทานอลมีประสิทธิภาพในการแยกแบบคัดเลือกอิแนนทิโอเมอร์ของกรดแลคติก ร้อยละของการสกัด และร้อยละของการนำกลับ และร้อยละส่วนเกินอิแนนทิโอเมอร์ของแลคติกแอซิด มีค่าเท่ากับ 77.22, 73.98 และ 55.71 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied enantioselective separation of lactic acid from racemic mixture by hollow fiber supported liquid membrane by using O,O’-Dibenzoyl-(2S,3S)-tartaric acid ((+)-DBTA) dissolved in organic solution as the chiral extractant, Distilled water was used as stripping solution. The feed and stripping solutions were fed counter-currently flowrate. Various parameters were studied: initial pH of feed solution, initial concentration of lactic acid in feed solution, concentration of the chiral extractant in the membrane phase, flowrate of feed and stripping solution and number of operation cycle. The results of experiment found that (+)-DBTA is a chiral extactant to selectively separation enantiomers of synthesis racemic mixture of lactic acid by a hollow fiber supported liquid membrane.The optimal condition for selectively separation enantiomer of racemic lactic acid was obtained at pH of feed solution reach to 4.0 and 6 mmol/L of initial concentration of lactic acid in feed solution by using 4 mmol/L (+)-DBTA dissolved in n-octanol as the chiral extractant. The feed and stripping solutions were fed counter-currently at equal flow rate of 100 ml/min. The enatioseletive transport of D,L-lactic acid form aqueous feed phase to the stipping phase was facilitated by co-extractant that dissolved in n-octanol. It was found to be efficient in the selective separation of lactic acid enantiomer. The cumulative percentage of L-lactic acid extraction, stripping and enantiomeric excess (%e.e.) were 77.22, 73.98 and 55.71, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1484-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดแล็กติกen_US
dc.subjectอิแนนทิโอเมอร์en_US
dc.subjectเยื่อแผ่นเหลวen_US
dc.subjectLactic aciden_US
dc.subjectEnantiomersen_US
dc.subjectLiquid membranesen_US
dc.titleการแยกแบบคัดเลือกอิแนนทิโอเมอร์ของกรดแลคติกด้วยเยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวงen_US
dc.title.alternativeEnantioselective separation of lactic acid by hollow fiber supported liquid membraneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUra.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1484-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
amornrat_sr.pdf68.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.