Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนครทิพย์ พร้อมพูล-
dc.contributor.authorธิดารัตน์ เพ็ชรประสม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-10-26T10:47:48Z-
dc.date.available2016-10-26T10:47:48Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49686-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์เป็นกระบวนการที่สำคัญ ที่ทำให้ซอฟต์แวร์มีความพร้อมในการใช้งาน ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องร่วมดำเนินการด้วย จึงทำให้เกิดรายการความต้องการจำนวนมากจากผู้ใช้งาน แต่กระบวนการนี้ไม่ได้เป็นกระบวนการในการพัฒนาฟังก์ชันหลักของซอฟต์แวร์ ผู้ผลิตส่วนใหญ่จึงให้ความสำคัญกับกระบวนการนี้น้อยกว่ากระบวนการอื่น อาจส่งผลอย่างมากที่ทำให้ซอฟต์แวร์ไม่มีความพร้อมสำหรับการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่กำหนด ดังนั้นหากผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สามารถทราบข้อมูลของช่องว่าง ระหว่างรายการความต้องการของซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ และแนวปฏิบัติที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน น่าจะช่วยให้มีการวางแผนและดีพลอยเมนต์ซอฟต์แวร์ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานได้ วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอกรอบงานสนับสนุนการวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างรายการความต้องการของซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ และแนวปฏิบัติที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน จากการประยุกต์ใช้เทคนิคคิวเอฟดี (Quality Function Deployment: QFD) และการวิเคราะห์เชิงลำดับขั้น (Analytical Hierarchy Process: AHP) ผลลัพธ์ที่ได้จากการประยุกต์ใช้กรอบงานคือความต้องการซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ที่ได้เรียงลำดับตามความสำคัญ โดยกรอบงานที่นำเสนอประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานและแนวทางการปฏิบัติในการดำเนินการ โดยได้ระบุข้อมูลนำเข้า ข้อมูลนำออก และขั้นตอนการดำเนินการที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วยห้าขั้นตอนที่เกี่ยวเนื่องกันคือ ขั้นตอนการจัดตั้งโครงการวิเคราะห์ช่องว่าง ขั้นตอนการกำหนดและจัดลำดับความสำคัญของรายการความต้องการซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ ขั้นตอนการจัดลำดับรายการกิจกรรมของกระบวนการซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์อ้างอิง ขั้นตอนการวิเคราะห์ช่องว่าง และขั้นตอนการประเมินผลการวิเคราะห์ช่องว่าง นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังนำเสนอเครื่องมือสนับสนุนกรอบงานการวิเคราะห์ช่องว่างที่สนับสนุนทุกขั้นตอนของกรอบงาน จากสองกรณีศึกษาที่ประยุกต์ใช้กรอบงานการวิเคราะห์ช่องว่าง พบว่าจากรายการความต้องการซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ที่มี สามารถระบุได้ว่าองค์กรยังมีกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์งานใดที่ยังไม่ปรากฏ หรืออาจต้องปรับปรุงเพื่อลดช่องว่างจากรายการความต้องการเหล่านั้น กล่าวคือ กรอบงานการวิเคราะห์ช่องว่างตามลำดับความสำคัญของความต้องการซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์นี้สามารถช่วยให้ผู้ผลิตทราบจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กรในการทำซอฟต์แวร์ดีพลอยเมนต์ให้ประสบความสำเร็จen_US
dc.description.abstractalternativeSoftware deployment is an important process of software development life cycle because it makes software available for the users. Usually, this process requires the collaboration from the users so there may be many particular requirements requested from customers. However, software deployment is not directly related to the development of software main functions. Many developers, therefore, tend to underinvest in this process. The critical consequence of a deployment failure is that software may be not available on the targeted environment. Hence, if gap information between user deployment requirements and current developer deployment process is available, this will help developer plan and execute deployment process to reach the customer need. This research proposes a framework for gap analysis user deployment requirements and current developer deployment process based on Quality Function Deployment (QFD) technic and Analytical Hierarchy Process (AHP). The result of our framework application is a sorted list of requirements deployment. The proposed framework consists of the basic elements and practice guidelines. It defines inputs, outputs and procedures which align with related deployment standards. This framework consists of five related procedures; Project Establishment Phase, Software Deployment Requirements Prioritization Phase, Software Deployment Reference Process Prioritization Phase, Gap Analysis Phase, and Gap Evaluation Phase. This research also presents a supporting tool for gap analysis framework based on software deployment requirements prioritization which supports all related procedures of framework. From our experiment based on two case studies, the result show that our framework can identify gap of software deployment process based on set of user requirements. From the result, organization can know which requirements should take into account according to strength and weakness in order to close that gaps and successfully deploy software.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1563-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนาen_US
dc.subjectวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.subjectComputer software -- Developmenten_US
dc.subjectSoftware engineeringen_US
dc.subjectSoftware architectureen_US
dc.titleกรอบงานสนับสนุนการวิเคราะห์ช่องว่างตามลำดับความสำคัญของความต้องการซอฟต์แวร์เพื่อดีพลอยเมนต์en_US
dc.title.alternativeA Supporting Framework for Gap Analysis based on Priority of Software Deployment Requirementsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNakornthip.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1563-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thidarat_pe.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.