Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชัย สิทธิศรัณย์กุลen_US
dc.contributor.advisorศิวลี สุริยาปีen_US
dc.contributor.authorรชนีกร วีระเจริญen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:24Z-
dc.date.available2016-12-01T08:09:24Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50535-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับของความรู้ ความตระหนักและการปฏิบัติตนเพื่อลดการได้รับรังสีจากการทำงาน ของผู้ปฏิบัติงานถ่ายภาพเอกซเรย์ ในโรงพยาบาลชุมชน วิธีการ การศึกษาเชิงพรรณนา ณ จุดใดจุดหนึ่งเพื่อการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปฏิบัติงานถ่ายภาพเอกซเรย์ในโรงพยาบาลชุมชนขนาดกลางและขนาดเล็กที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 613 โรงพยาบาล เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามในช่วงเดือนสิงหาคม ถึง ธันวาคม 2558 ผลการศึกษา การตอบกลับแบบสอบถามทั้งหมด 416 โรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 67.86 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยความรู้เท่ากับ 68.94 อยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลี่ยความรู้ค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในเพศหญิง กลุ่มที่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการได้รับการอบรมเกี่ยวกับเรื่องอันตรายจากการทำงานที่ได้รับรังสีและการป้องกันตนเองเพื่อลดการได้รับรังสี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ตำแหน่งงานเป็นนักรังสีการแพทย์ และปฏิบัติงานในโรงพยาบาลขนาด 90 เตียง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยความตระหนักเท่ากับ 92.33 อยู่ในระดับสูง คะแนนเฉลี่ยความตระหนักมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในเพศหญิงและมีตำแหน่งงานเป็นนักรังสีการแพทย์ เสื้อตะกั่วมีการใช้มากที่สุดถึงร้อยละ 97.6 แว่นตาป้องกันรังสีและถุงมือป้องกันรังสีมีการใช้เพียงร้อยละ 20.8 และ 29.3 ตามลำดับ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติเท่ากับ 79.17 อยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในทุกปัจจัย สรุป ผู้ปฏิบัติงานถ่ายภาพเอกซเรย์ควรได้รับการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับรังสีและการป้องกันอันตรายจากรังสีอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานมากที่สุด คำสำคัญ ความรู้, ความตระหนัก, การปฏิบัติ, การได้รับรังสีen_US
dc.description.abstractalternativeObjective This study aims to find out knowledge, awareness and practice score to reduce radiation exposure among radiographers in small and medium size community hospitals. Method The study design was a cross-sectional descriptive survey. The survey was conducted during August and December, 2015. Samples were radiographers working in 613 community hospitals. Result Four hundred and sixteen questionnaires were returned, percent of return rate was 67.86. Percent accuracy of knowledge score was 68.94. The highest mean of knowledge score was found among females, were previously trained, had bachelor’s degree, were radiological technologists and worked in 90 beds hospital. Percent accuracy of Level of awareness score was 92.33. The highest mean of awareness score was found among females and radiological technologists. Percent of wearing lead apron was 97.6. Percent of wearing protective eyeglasses and gloves was 20.8 and 29.3, respectively. Percent of mean practice score was 79.17. No significant differences in mean of practice scores were found when compared on various factors. Conclusion Training course about radiation protection should be regularly provided to radiographers to improve safety at work. Key words knowledge, awareness, practice, radiation exposureen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบันทึกภาพด้วยรังสีทางการแพทย์
dc.subjectการบันทึกภาพด้วยรังสีทางการแพทย์ -- การสัมผัส
dc.subjectการแผ่รังสี -- มาตรการความปลอดภัย
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์
dc.subjectRadiography, Medical
dc.subjectRadiography, Medical -- Exposure
dc.subjectRadiation -- Safety measures
dc.subjectMedical personnel
dc.titleความรู้ ความตระหนัก และการปฏิบัติตนเองเพื่อลดการได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงานถ่ายภาพเอกซเรย์ ในโรงพยาบาลชุมชนขนาดกลางและเล็กen_US
dc.title.alternativeKnowledge, awareness and practice of radiographer to reduce radiation exposure in small and medium size community hospitalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPornchai.Si@Chula.ac.th,psithisarankul@gmail.comen_US
dc.email.advisorSivalee.S@Chula.ac.then_US
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5774073030.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.