Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมชนม์ สถิระพจน์en_US
dc.contributor.authorทวีชัย ชูเชิดen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:02:08Z
dc.date.available2016-12-02T02:02:08Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50694
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractค่าความสูงออร์โทเมตริกของหมุดหลักฐานทางดิ่งในโครงข่ายระดับชั้นที่ 1 ในพื้นที่ประเทศไทย มีระดับทะเลปานกลางเป็นพื้นหลักฐานอ้างอิง ปัจจุบันมีกระจายครอบคลุมอยู่ทั่วประเทศ ใช้เป็นค่าอ้างอิงทางดิ่งสำหรับงานด้านวิศวกรรมในหลายสาขา สำหรับประเทศไทยโดยกรมแผนที่ทหาร ได้มีการสำรวจค่าความโน้มถ่วงพิภพแบบสัมพัทธ์ ซึ่งค่าความโน้มถ่วงพิภพนี้ เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการพัฒนาค่าความสูงออร์โทเมตริกให้มีความละเอียดถูกต้องมากขึ้น โดยในแต่ละบริเวณพื้นที่จะมีค่าความโน้มถ่วงพิภพที่แตกต่างกันตามลักษณะของภูมิประเทศและส่งผลต่อการคำนวณค่าความสูงออร์โทเมตริกของหมุดหลักฐานทางดิ่งในโครงข่ายระดับชั้นที่ 1 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงผลกระทบของค่าความโน้มถ่วงพิภพที่มีต่อการคำนวณค่าความสูงออร์โทเมตริกของหมุดหลักฐานทางดิ่งในโครงข่ายระดับชั้นที่ 1 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ค่าความแตกต่างระหว่างค่าระดับสูงที่ได้จากการสำรวจระดับชั้นที่ 1 กับค่าระดับสูงที่ได้จากการศึกษาบริเวณหมุดชุมทาง แตกต่างกันสูงสุดในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่ตอนบนเกาะหลัก และพื้นที่ตอนใต้เกาะหลัก เท่ากับ 0.07 , 37.6 และ 1.2 มม. ตามลำดับ โดยผลการศึกษาสามารถนำไปเป็นแนวทางในอนาคตสำหรับการสำรวจโครงข่ายระดับชั้นที่ 1 ของประเทศต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe Orthometric Height of Vertical Benchmarks in the 1st Order Leveling Network in Thailand is referred by the Mean Sea Level. Now, these vertical benchmarks are widely distributed over Thai region and have been used as references for various engineering applications. In Thailand especially the Royal Thai Survey Department (RTSD), a relative gravimetric survey has been carried out. The gravity data can be considered as the main factor in developing more precise orthometric heights. In each specific area, the gravity data is very much dependent on its terrain and this variation will inevitably affect a calculation of an orthometric height for each 1st order vertical benchmarks. This paper aims to present an effect of the gravity data on the determination of orthometric height of the 1st order vertical benchmarks. The study result shows that the difference between the height level of the 1st order leveling survey and the height level of the study on junction benchmark is maximally different in Bangkok and its perimeter areas, Northern part of Ko Lak and Southern part of Ko Lak which are 0.07 , 37.6 and 1.2 mm. respectively. The results of the study can be used as a future practice of the 1st order leveling survey for Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1300-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระดับ
dc.subjectความสูง
dc.subjectความโน้มถ่วง
dc.subjectการสำรวจ
dc.subjectLeveling
dc.subjectAltitudes
dc.subjectGravitation
dc.subjectSurveying
dc.titleการศึกษาผลกระทบของข้อมูลความโน้มถ่วงพิภพที่มีต่อการปรับแก้โครงข่ายระดับชั้นที่ 1 ในพื้นที่ประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAn investigation on effects of using gravity data in adjustment procedures of the 1st order leveling network in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChalermchon.S@Chula.ac.th,chalermchon.s@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1300-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570204021.pdf6.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.