Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorยุติ ปิ่นวิเศษ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2007-12-25T03:56:08Z-
dc.date.available2007-12-25T03:56:08Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741706901-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5114-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการเปิดรับหนังสือพิมพ์และโลกทัศน์ต่อตนเองและสังคม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยเทคนิควิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านหนังสือพิมพ์กับสภาพทางจิตของคนไทยในสองด้านคือ มุมมองต่อสังคมจากการปลูกฝังโลกทัศน์ และมุมมองต่อตนเองจากภาวะไร้บรรทัดฐาน โดยศึกษาผลเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์และประเภทของเนื้อหาที่เลือกรับ ทั้งนี้ได้มีการตั้งสมมติฐานการวิจัยไว้ดังนี้ 1. การปลูกฝังโลกทัศน์กับภาวะไร้บรรทัดฐานในผู้อ่านหนังสือพิมพ์แปรผันตามระยะเวลาที่ติดตามอ่านหนังสือพิมพ์ 2. การปลูกฝังโลกทัศน์กับภาวะไร้บรรทัดฐานในผู้อ่านหนังสือพิมพ์แปรผันตามปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ 3. ประเภทเนื้อหาที่เปิดรับต่างกัน ทำให้เกิดการปลูกฝังโลกทัศน์และภาวะไร้บรรทัดฐานในระดับที่ต่างกัน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ซึ่งประกอบด้วย 3ส่วน คือข้อมูลทางประชากร พฤติกรรมการใช้สื่อ และทัศนะที่มีต่อตนเองและโลกภายนอก โดยดำเนินการวิจัยด้วยการใช้แบบสอบถามเพื่อวัดทัศนะ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 384 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for windows (version 10.0) และมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมติฐานคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยแบบทิศทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อพิสูจน์ค่าความสัมพันธ์ตามสมมติฐาน ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1. การปลูกฝังโลกทัศน์กับภาวะไร้บรรทัดฐานในผู้อ่านหนังสือพิมพ์ไม่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ติดตามอ่านหนังสือพิมพ์ 2. การปลูกฝังโลกทัศน์กับภาวะไร้บรรทัดฐานในผู้อ่านหนังสือพิมพ์ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ 3. ประเภทเนื้อหาที่เปิดรับต่างกัน ไม่ทำให้เกิดการปลูกฝังโลกทัศน์และภาวะไร้บรรทัดฐานในระดับที่ต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe study of "Newspaper Exposure and Worldviews Towards Self and Society" is a quantitative analysis using the survey research method in order to examine the relationship between newspaper reading and Thai's mental health in two aspects, that are 1.) worldviews towards society (indicates by cultivation analysis) and 2.) wordviews towards self (indicates by level of anomie). The study looks specifically at the relationship between the reading behavior and type of content exposed. The following three hypotheses are tested: 1. The cultivation level and anomie relates to the period of newspaper exposure. 2. The cultivation level and anomie relates to the amount of newspaper exposure. 3. Different type of content exposed leads to different level of cultivation and anomie. The questionnaire used to collect data consists of three parts: population data, media usage behavior and worldviews towards self and society. The samplings come from 384 Bankokians. The results indicated that: 1. The cultivation level and anomie did not relate to the period of newspaper exposure. 2. The cultivation level and anomie did not relate to the amount of newspaper exposure. 3. Different type of content exposed did not lead to different level of cultivation and anomie.en
dc.format.extent5972203 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.417-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- ผลกระทบต่อสังคมen
dc.subjectข่าวหนังสือพิมพ์en
dc.subjectหนังสือพิมพ์และการอ่าน -- ไทยen
dc.titleการเปิดรับหนังสือพิมพ์และโลกทัศน์ต่อตนเองและสังคมen
dc.title.alternativeNewspaper exposure and world views towards self and societyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangkamol.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.417-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yutti.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.