Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomying Tumwasorn-
dc.contributor.authorWaraporn Siriterm-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2017-02-16T13:54:48Z-
dc.date.available2017-02-16T13:54:48Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51919-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractSpecific strains of Lactobacillus spp. can promote intestinal integrity and prevent pathogen-induced damage of epithelial barrier function. This study aimed to find indigenous Lactobacillus Thai isolates with the ability to prevent and/or improve the integrity of epithelial tight junctions (TJs). Twenty-nine Lactobacillus isolates from infant feces, breast milk and gastric biopsies were tested for this ability by transepithelial electrical resistance (TEER) assay in Caco-2 cells. Eight Lactobacillus Thai isolates including L. fermentum L12 (LF-L12), L. oris NL49 (LO-NL49), L. murinus B57 (LM-B57), L. plantarum XB7 (LP-XB7), L. salivarius B37 (LS-B37), L. salivarius B60 (LS-B60), L. rhamnosus L34 (LR-L34) and L. casei L39 (LC-L39) prevent the destruction of TJs by C. difficile. LR- L34 which was selected for further investigation had the ability to protect and improve the intestinal epithelial barrier destroyed by C. difficile although the magnitude of improvement is lower than that of protection. Live LR-L34 had more effect than UV-treated LR-L34. Live and UV-treated LR-L34 had protection effect on the destruction of intestinal epithelial barrier by C. jejuni but not by Vibrio cholerae O1 Inaba and Salmonella Typhimurium ATCC 13311. The expression of claudin-1 significantly increased when differentiated Caco-2 cells were treated with LR-L34 alone. Furthermore, the expression of claudin-1 and occludin increased significantly when cells were pretreated with LR-L34 for 3 hours followed by the infection with C. difficile. LR-L34 is thus a probiotic strain with the ability to enhance TJs integrity, protect and improve the destruction of TJs by C. difficile.en_US
dc.description.abstractalternativeแลคโตบาซิลลัส สายพันธุ์จำเพาะสามารถส่งเสริมความสมบูรณ์ของเยื่อบุลำไส้และป้องกันการทำลายหน้าที่กีดขวางของเยื่อบุผิวจากเชื้อก่อโรค วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อหาแลคโตบาซิลลัสสายพันธุ์ไทยที่สามารถเพิ่มความหนาแน่นของส่วนเชื่อมติดกันแน่นของเซลล์เยื่อบุลำไส้ โดยนำ แลคโตบาซิลลัสทั้งหมด 29 สายพันธุ์ ที่คัดแยกได้จาก อุจจาระเด็ก น้ำนมมารดา และชิ้นเนื้อกระเพาะอาหาร มาทดสอบความสามารถในการเพิ่มความหนาแน่นของส่วนเชื่อมติดกันแน่น โดยวิธี transepithelial electrical resistance (TEER) ในเซลล์เยื่อบุลำไส้ Caco-2 พบว่า มีแลคโตบาซิลลัส 8 สายพันธุ์ได้แก่ แลคโตบาซิลลัส เฟอร์เมนตัม L12 (LF-L12), แลคโตบาซิลลัส โอริส NL49 (LO-NL49), แลคโตบาซิลลัส มูรินัส B57 (LM-B57), แลคโตบาซิลลัส แพลนทารัม XB7 (LP-XB7), แลคโตบาซิลลัส ซาลิวาเรียส B37 (LS-B37), แลคโตบาซิลลัส ซาลิวาเรียส B60 (LS-B60), แลคโตบาซิลลัส แรมโนซัส L34 (LR-L34) และ แลคโตบาซิลลัส เคซิไอ L39 (LC-L39) สามารถป้องกันการทำลายส่วนเชื่อมติดกันแน่นจากคลอสทริเดียม ดิฟฟิไซล์ จากการคัดเลือก LR-L34 มาศึกษาต่อ พบว่า LR-L34 มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขการทำลายหน้าที่กีดขวางของเยื่อบุผิวจากคลอสทริเดียม ดิฟฟิไซล์ แม้ว่าระดับผลของการแก้ไขจะต่ำกว่าการป้องกันก็ตาม นอกจากนี้ยังพบว่า LR-L34 ที่มีชีวิตมีประสิทธิภาพมากกว่า LR-L34 ที่ถูกฆ่าด้วยรังสียูวี อีกทั้ง LR-L34 ที่มีชีวิตและที่ถูกฆ่าด้วยรังสียูวียังสามารถป้องกันการทำลายหน้าที่กีดขวางของเยื่อบุผิวจาก แคมไพโลแบคเตอร์ เจจูไนได้ แต่ไม่สามารถป้องกันการทำลายหน้าที่กีดขวางของเยื่อบุผิวจาก วิบริโอ คอเลอเร O1 Inaba และ ซัลโมเนลลา ไทฟีมิวเรียม ATCC 13311 การแสดงออกของโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของส่วนเชื่อมติดกันแน่น ได้แก่ claudin-1 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเซลล์เยื่อบุลำไส้ Caco-2 cells ถูกบ่มร่วมกับ LR-L34 เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การแสดงออกของ claudin-1 และ occludin เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเซลล์เยื่อบุลำไส้ Caco-2 cells ถูกบ่มร่วมกับ LR-L34 เป็นเวลา 3 ชั่วโมงก่อนบ่มกับคลอสทริเดียม ดิฟฟิไซล์ ดังนั้น LR-L34 จึงเป็นโพรไบโอติกส์สายพันธุ์ที่มีความสามารถเพิ่มความสมบูรณ์ของส่วนเชื่อมติดกันแน่น ป้องกัน และแก้ไขการทำลายส่วนเชื่อมติดกันแน่นจากคลอสทริเดียม ดิฟฟิไซล์en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.283-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectProbioticsen_US
dc.subjectLactobacillusen_US
dc.subjectClostridiumen_US
dc.subjectโพรไบโอติกen_US
dc.subjectแล็กโตบาซิลลัสen_US
dc.subjectคลอสตริเดียมen_US
dc.titleRole of Lactobacillus in the enhancement of human intestinal epithelial barrier functions destroyed by Clostridium Difficileen_US
dc.title.alternativeบทบาทของแลคโตบาซิลลัสในการเพิ่มความสามารถกีดขวางของเยื่อบุผิวที่ถูกทำลายโดยคลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedical Microbiology (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorsomying.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.283-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
waraporn_si.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.