Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวงศ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.advisorศุภิชัย ตั้งใจตรง-
dc.contributor.authorกฤษฎา จันทรเสนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialแม่น้ำพอง-
dc.date.accessioned2017-02-21T09:11:30Z-
dc.date.available2017-02-21T09:11:30Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52022-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการประเมินความสามารถในการรองรับมลพิษสูงสุดต่อวันของแม่น้ำพองตอนล่าง ช่วงตั้งแต่ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์อำเภออุบลรัตน์จนถึงจุดบรรจบแม่น้ำชีบริเวณอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รวมความยาวประมาณ 140 กิโลเมตร โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ QUAL2K พารามิเตอร์ที่ทำการศึกษาได้แก่ Biochemical Oxygen Demand (BOD), Dissolved Oxygen (DO) และ Nitrogen (NO₃–N) การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการประเมินมลพิษที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยได้แบ่งแหล่งกำเนิดมลพิษออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แหล่งกำเนิดที่แน่นอน (point source) ประกอบด้วย ชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งกำเนิดที่ไม่แน่นอน (non-point source) ประกอบด้วยกรณีชะล้างพื้นผิวของน้ำฝน การทำปศุสัตว์และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และทำการประเมินความสามารถสูงสุดใน การรองรับมลพิษต่อวัน (TMDL) ของแม่น้ำพองตอนล่างในระดับที่ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำ ที่กำหนดให้แม่น้ำพองตอนล่างเป็นแหล่งน้ำผิวดินประเภท 3 ซึ่งมีค่า BOD ไม่เกิน 2 มิลลิกรัม/ลิตร DO ไม่ต่ำกว่า 4 มิลลิกรัม/ลิตรและ NO₃–N ไม่เกิด 5 มิลลิกรัม/ลิตร และการศึกษาได้แบ่งออกเป็น 2 ช่วงฤดูกาล คือ ฤดูฝนและฤดูแล้ง ผลการประเมินมลพิษที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่ลงสู่แม่น้ำพองตอนล่าง ช่วงฤดูฝน มีดังนี้ BOD เท่ากับ 39,184 กิโลกรัม/วัน และ NO₃-N เท่ากับ 3,008 กิโลกรัม/วัน และช่วงฤดูแล้ง BOD เท่ากับ 20,652 กิโลกรัม/วัน และ NO[subscript 3] –N เท่ากับ 383 กิโลกรัม/วัน ผลการประเมินความสามารถสูงสุดในการรองรับมลพิษต่อวัน (TMDL) ช่วงฤดูฝน BOD เท่ากับ 62,905 กิโลกรัม/วัน และ NO₃–N เท่ากับ 40,581 กิโลกรัม/วัน และช่วงฤดูแล้ง BOD เท่ากับ 37,880 กิโลกรัม/วัน และ NO₃–N เท่ากับ 36,728 กิโลกรัม/วันen_US
dc.description.abstractalternativeThis study evaluated Total Maximum Daily Load (TMDL) for the lower Phong River which runs downstream for 140kilometers from Ubolrat Dam in Ubolrat district of Khonkaen province to the Shee River in Muang district of Khonkaen province. Mathematical model QUAL2K was applied to evaluate TMDL for Biochemical Oxygen Demand (BOD) and Nitrate Nitrogen (NO₃–N) in rainy and dry seasons. Only recent BOD and NO₃–N at both point sources (domestic and industrial waste) and non-point sources (discharge and runoff) was analysed to evaluate TMDL in this study. TMDL for the lower Phong River was also evaluated according to the standard quality of runoff water issued by the Pollution Control Department which classified the lower Phong River as Type 3 runoff source with a maximum BOD value of 2 mg/liter, a miximum NO₃–N content of 5 mg/liter. The results of this study showed that recently the average BOD value and the average concentration NO₃–N of the lower Phong River in the rainy season were 39,184 kilograms/day and 3.008 kilograms/day respectively, and in the dry season were 20,652 kilograms/day and 383 kilograms/day respectively. However, TMDL for BOD and NO₃–N of the lower Phong River estimated in this study for the rainy season were 62,905 kilograms/day and 40,581 kilograms/day respectively while the estimation for the dry season were 37,880 kilograms/day and 36,728 kilograms/day respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1120-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมลพิษทางน้ำ -- แม่น้ำพองen_US
dc.subjectคุณภาพน้ำ -- แม่น้ำพองen_US
dc.subjectWater -- Pollution -- Nam Pong River (Thailand)en_US
dc.subjectWater quality -- Nam Pong River (Thailand)en_US
dc.titleการประเมินความสามารถสูงสุดในการรองรับมลพิษต่อวันของแม่น้ำพองตอนล่างโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.title.alternativeTotal maximum daily load evalution of the lower phong river by using a mathematical modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThavivongse.S@chula.ac.th-
dc.email.advisorSupichai.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1120-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kritsada_ja_front.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_ch1.pdf496.51 kBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_ch2.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_ch3.pdf7.24 MBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_ch4.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_ch5.pdf742.66 kBAdobe PDFView/Open
kritsada_ja_back.pdf10.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.