Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์-
dc.contributor.authorทองกร ทัศนียะเวช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิืทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-03T09:06:07Z-
dc.date.available2008-01-03T09:06:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741740611-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5232-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารจากโครงการ "น้ำหาร2 ใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า" ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้น้ำของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร มีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้นจำนวน 432 คน โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 216 คน และกลุ่มนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 216 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบความแตกต่าง (t-test) การทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's Product Moment correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ และนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าแตกต่างกัน 2. การเปิดรับข่าวสารและความรู้เรื่องวิธีการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าไม่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าของนักเรียนทีศึกษาในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ แต่ทัศนคติต่อการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ทัศนคติต่อการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า เป็นตัวแปรที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการอธิบายพฤติกรรมการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าของนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the correlations between information exposure from "nam harn 2" campaign, knowledge, attitude and water saving behavior. A total of 432 samples was collect from primary school students (M.4-M.6) of school in Bangkok .The samples were divided into 2 groups; 216 students from school participating in Namharn2 campaign and 216 students from non-participating school Questionnaire is used as a tool for data collection and analyses through frequency, percentage, mean, t-test, Pearsons Product Moment correlation Coefficient, Multiple Regression Analysis. SPSS program was used for data processing. This results indicate that 1. Students of different groups has similar knowledge, attitude, behavior concerning water saving. 2. Information exposure and knowledge did not correlate with water saving behavior but attitude toward water saving correlated with water saving behavior. 3. The variable which could be explain the student 's practice of water saving was attitude towards water saving.en
dc.format.extent991997 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.821-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectการอนุรักษ์น้ำen
dc.subjectข่าวสารen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการประหยัดน้ำen
dc.title.alternativeInformation exposure, knowledge, attitude and water saving behavioren
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJitraporn.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.821-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thongkorn.pdf968.75 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.