Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งนภา พิตรปรีชา-
dc.contributor.authorจุฑามาศ สุขสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-05-27T10:44:08Z-
dc.date.available2017-05-27T10:44:08Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52911-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรของกลุ่มบริษัทปตท.และเพื่อศึกษาทัศนคติของพนักงานในกลุ่มบริษัทปตท. ต่อการประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร โดยผู้วิจัยได้แบ่งวิธีออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร และการสัมภาษณ์จากบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร ส่วนที่ 2 ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานกลุ่มบริษัทปตท. 3 บริษัท อันได้แก่ บริษัทปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำกัด และบริษัทสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 381 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1.กลุ่มบริษัทปตท. มีการใช้กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ 2 กลยุทธ์หลักด้วยกัน คือ 1. กลยุทธ์การใช้สื่อประชาสัมพันธ์ 2. กลยุทธ์การนำเสนอสาร 2.กลุ่มเป้าหมายมีการเปิดรับสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อันได้แก่ สื่อ Intranet และสื่อ Web Site ขององค์กรมากที่สุด ซึ่งอยู่ในระดับมาก และมีการเปิดรับสื่อเสียงตามสายขององค์กรน้อยที่สุด ซึ่งมีการเปิดรับในระดับปานกลางเท่านั้น 3.การเปิดรับสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติของพนักงานต่อสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร 4.การเปิดรับสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรมีความสัมพันธ์กับเชิงบวกกับความน่าเชื่อถือ ความน่าสนใจและจูงใจของสารประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร 5.การเปิดรับสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร ทัศนคติของพนักงานต่อสื่อและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ภายในองค์กร ความน่าเชื่อถือ ความน่าสนใจและจูงใจของสารประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงจากการเปิดรับสื่อและกิจกรรมการประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to investigate the internal public relations strategies of PTT group and to examine attitude of staff in the PTT group towards the internal public relations. The research has divided the study into two parts. Part one employed the qualitative oriented approach by collecting data from documentary resources, and interview related personals working in the public relations sector. Part two adopted the quantitative research paradigm by collecting data from sample sampling participants: PPT Public Company Limited, PTT Retail Management Company Limited and PTT Exploration and Production Public Company Limited amounting to 381 participants. The data analysis pointed out percentage, the average Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Correlation Coefficient The study found out that 1.PTT group employed two internal public relations strategies which are 1. Media Application Strategy 2. Public Presentation Strategy. 2.The target groups are receptive to media and public relations activities via new media such as the intranet and the websites the most this is a high level while they consumed information via the internal radio the least which is only in the middle level. 3.The Media Exposure to information and the public relations activities of the companies are positively related to the attitudes of the staff. 4.The Media Exposure to information and the public relations activities of the companies are positively related to reliability, interest and persuasion of the internal public relations media. 5.The Media Exposure to information and the public relations activities of the companies, staff’ s attitude, reliability, interest and persuasion of the internal public relations media are positively related to changed behavior from the receptivity to information and the public relations activities of the companies.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.47-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบริษัท ปตท.en_US
dc.subjectบริษัท -- การประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectPTT (Firm)en_US
dc.subjectCorporations -- Public relationsen_US
dc.subjectPublic relationsen_US
dc.titleกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรกลุ่มบริษัทปตท.en_US
dc.title.alternativeInternal public relations strategies of PTT group of companyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRungnapar.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.47-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jutamas_su_front.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_ch1.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_ch2.pdf7.64 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_ch3.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_ch4.pdf12.42 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_ch5.pdf7.32 MBAdobe PDFView/Open
jutamas_su_back.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.