Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมน อมรวิวัฒน์-
dc.contributor.authorสุทธศรี ลิขิตวรรณการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-06-12T04:30:31Z-
dc.date.available2017-06-12T04:30:31Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745824224-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52954-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการวิธีสอนแบบอุปนัย ที่มีต่อวิจารณญาณจากการเรียนข่าวและเหตุการณ์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตัวอย่างประชากรคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสามเสนนอก สำนักงานเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2535 จำนวน 60 คน กลุ่มแรก จำนวน 30 คน เรียนจากแผนการสอนด้วยวิธีสอนแบบอุปนัย และกลุ่มที่สอง จำนวน 30 คน เรียนจากแผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผนการสอนด้วยวิธีสอนแบบอุปนัย แผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ และแบบวัดความมีวิจารณญาณจากข่าวและเหตุการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบแบบวัดความมีวิจารณญาณ ในการวิเคราะห์ การวินิจฉัย การประเมินค่า และการนำไปใช้ หลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มที่เรียนจากแผนการสอนด้วยวิธีสอนแบบอุปนัย สูงกว่ากลุ่มที่เรียนโดยใช้แผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบแบบวัดความมีวิจารณญาณจากข่าวและเหตุการณ์ของนักเรียนกลุ่มที่เรียนจากแผนการสอนด้วยวิธีสอนแบบอุปนัย สูงกว่ากลุ่มที่เรียนโดยใช้แผนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study effects of inductive teaching method on Prathom Suksa six students’ critical thinking gained from studying news and event. The sample were 60 students of Prathom Suksa six in the academic year 1992 from Samsennok school, Huaykwang District, Bangkok Metropolitan. The subjects were divided into 2 groups. The first group of 30 students was taught by the inductive teaching method while the other one of 30 students was taught by the conventional method. The instruments used in this research were the lesson plans using inductive teaching method and conventional method, and the critical thinking test. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The finding were as follows: 1. The post-test arithmetic mean o the critical thinking scores in analysis, considering, evaluation and application of the students group instructed by the inductive teaching method was higher than the group instructed by using the conventional method significantly at the level of .05. 2. The arithmetic mean of the critical thinking scores gained from studying news and events of the first group who learned by using the inductive teaching method was higher than the other one which learned by using the conventional method significantly at the level of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen_US
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณในเด็กen_US
dc.subjectแผนการสอนen_US
dc.subjectCritical thinking in childrenen_US
dc.subjectLesson planningen_US
dc.titleผลของวิธีสอนแบบอุปนัยที่มีต่อความมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffects of inductive teaching method on critical thinking of prathom suksa six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthasri_li_front.pdf570.85 kBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_ch1.pdf960.15 kBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_ch2.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_ch3.pdf765.72 kBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_ch4.pdf437.31 kBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_ch5.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Suthasri_li_back.pdf8.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.