Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorอธิญาณ์ วลีอิทธิกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialเพชรบุรี-
dc.date.accessioned2017-09-29T08:58:40Z-
dc.date.available2017-09-29T08:58:40Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53384-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งพื้นที่ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทรายขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมในภาคตะวันตก ทว่าอย่างไรก็ตามยังคงมีปัญหาภัย แล้งอยู่เสมอโดยเฉพาะในฤดูแล้ง พื้นที่ศึกษาในครั้งนี้ครอบคลุมตำบลสามพระยา ไร่ใหม่พัฒนา และ ตำบลห้วยทรายเหนือ อำเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี และส่วนหนึ่งของตำบลเขากระปุก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือ เพื่อสำรวจสภาพทางอุทกธรณีเคมีของชั้นน้ำ บาดาลต่างๆ ในพื้นที่ศึกษา ซึ่งมีอยู่สามชั้นน้ำหลัก ประกอบด้วยชั้นน้ำตะกอนที่ราบลุ่มน้ำหลาก (Qfd) ชั้น น้ำ หินชั้นกึ่งหินแปรยุคเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส (PCms) และชั้นน้ำแกรนิต (Gr)โดยได้ทำการเก็บ ตัวอย่างน้ำมาเพื่อวิเคราะห์ทางเคมี 68 ตัวอย่าง พบว่าชนิดน้ำ หลักภายในสามชั้นน้ำ คือ ชั้นน้ำตะกอนที่ ราบลุ่มน้ำหลาก ชั้นน้ำหินชั้นกึ่งหินแปรยุคเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส และชั้นน้ำแกรนิตเป็นน้ำประเภท แคลเซียม-แมกนีเซียม-คลอไรด์ (Ca-Mg-Cl) ประเภทโซเดียม-คลอไรด์ (Na-Cl) และ แคลเซียม- แมกนีเซียม-คลอไรด์ (Ca-Mg-Cl) และประเภท โซเดียม-คลอไรด์ (Na-Cl) ตามลำดับ และจากการ เปรียบเทียบกับ Gibb’s Diagram พบว่าเคมีของน้ำบาดาลทั้งสามชั้นน้ำนั้น กว่า 90%เกิดจากการละลาย ของแร่ภายในวัสดุทางธรณีวิทยาหรือหินต้นกำเนิดของชั้นน้ำ สำหรับความสัมพันธ์กับทางอุทกธรณีวิทยา คาดว่าโซเดียมไอออนมาจากการผุพังของแร่แอลไบท์ในหินแกรนิต และแร่ดินในหินตะกอน แคลเซียมและ แมกนีเซียมไอออนคาดว่ามาจากแหล่งหินปูนบริเวณพื้นที่เพิ่มเติมน้ำ ทางทิศตะวันตกของพื้นที่ศึกษา ในขณะที่คลอไรด์ที่สูงมาจากการที่น้ำบาดาลถูกกับเก็บมายาวนานen_US
dc.description.abstractalternativeHis Majesty King Bhumibol Adulyadej initated to establish Huay Sai Royal Development StudyCenter as a demonstrated area of deteriorated western area. However, this area has faced the drought problem, particular in dry season. The study area is located in Tambon Sam Phraya, Tambon Huay Sai Nua and Tambon Rai Mai Phattana, Amphoe Cha-am, Changwat Phetchaburi and part of Tambon Khao Kra Puk, Amphoe Thayang, Changwat Phetchaburi. The propose of this study is to investigate the hydrogeochemical characteristics of groundwater aquifers in the study area, namely Quaternary floodplain deposits aquifer (Qfd), Permian-Carboniferous metasedimentary aquifer (PCms) and Granitic aquifer (Gr). Sixty-eight groundwater samples were collected in these three aquifers to analyze hydrogeochemical facies. Major types of groundwater in Qfd, PCms and Gr are Ca-MgCl type, Na-Cl and Ca-Mg-Cl types and Na-Cl type, respectively. Furthermore, identification of water mechanism in aquifers derived from Gibb’s Diagram. It shows about 90% in three aquifers representing the influence of chemical properties in groundwater is dominated by dissolution of minerals in aquifer media or host rock. For the ascription of hydrogeology and hydrogeochemistry relationship, sodium ion may come from weathering of plagioclase feldspar in granite rock and clay mineral in sedimentary rocks, calcium and magnesium ion may came from limestone in the recharge area at the western part of study area and chloride dominant occur due to long retention time of groundwater.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเคมีของน้ำ -- ไทย -- เพชรบุรีen_US
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- เพชรบุรีen_US
dc.subjectWater chemistry -- Thailand -- Phetchaburien_US
dc.subjectAquifers -- Thailand -- Phetchaburien_US
dc.titleลักษณะอุทกธรณีเคมีของชั้นน้ำบาดาลบริเวณศูนย์การศึกษาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริและบริเวณใกล้เคียง อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรีen_US
dc.title.alternativeHydrogeochemical characteristics of aquifers in Huay Sai Royal development study center and adjacent areas, Amphoe Cha-Am, Changwat Phetchaburien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorlertc77@yahoo.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332735623 อธิญาณ์ วลีอิทธิกุล.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.