Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53420
Title: The effects of heat on zircon from Kanchanaburi
Other Titles: ผลของความร้อนต่อเพทายจากแหล่งกาญจนบุรี
Authors: Watcharaporn Phootong
Advisors: Visut Pisutha-Arnond
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Zircon
Zircon -- Thailand -- Kanchanaburi
Zircon -- Heat treatment
เซอร์คอน
เซอร์คอน -- ไทย -- กาญจนบุรี
เซอร์คอน -- วิธีทางความร้อน
เซอร์คอน -- วิธีทางความร้อน -- ไทย -- กาญจนบุรี
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The naturally occurring reddish brown zircon from many localities such as from Ratana Kiri, Cambodia can be heat-treated to blue, yellow and colorless which are more desirable in gem trade. It is therefore interesting to know and understand the effect of heat treatment on coloration and other properties of zircon from Amphoe Bo Phloi, Changwat Kanchanaburi which has not been investigated before. Thirty five zircon samples from Bo Phloi were used in this study. The samples can be subdivided into 2 groups based on their color; dark reddish brown to orange brown and light orange and reddish brown. Their specific gravities average about 4.569 and 4.486 which fall into a high to intermediate-type zircon. The samples are mostly inert both under short and long wave UV. The dominant internal features are negative crystals, finger prints, color zones and fractures. All samples were heat-treated at 900oC in reduction condition for 3 hours. After treatment, the color mostly was changed from originally brown to colorless and some dark gray and violet in both groups. The UV-VIS-NIR absorption band from 600nm to UV range, which is related to brown color center or structure damaged by radioactive element, was disappeared after heating. Beside, peaks of U5+ appear at 1150 nm and 1157 nm both before and after heating. In addition, the structural damage appear to improve after heating as seen from FTIR absorption spectra; the O-H stretching peaks at 2800-3200 cm-1 disappear and some also sharper after heating. Beside, the Si-O stretching peaks at 1400-2000 cm-1are sharper after heating. Furthermore, the Raman spectra of zircon samples before heating give the average V3 (anti-symmetric SiO4 stretching) values of 1007.23 cm-1 and 1007.29 cm-1 which represent a well crystalline structure or slight degree of metamictization. After heat-treatment, the average V3 values increase to 1007.67 cm-1 and 1007.46 cm-1 and the average FWHM (Full with at Half Maximum) values before heating decrease from 5.60 cm-1 to 5.46 cm-1. Both values suggest that heat treatment can improve their structure. The chemical analyzed by LA-ICP-MS shows the average contents of elements such as Zr, Si, Hf, Th and U etc. The dark brown group has lower U concentrations (average about 112.6 ppm) than that of the light brown group (average about 276.2 ppm). Their formulas vary from ZrSiO4 to (Zr0.99,Hf0.01)SiO4.
Other Abstract: ในธรรมชาติเราสามารถพบเพทายสีน้ำตาลได้จากหลายแหล่ง เช่น จากแหล่งรัตนคีรีจากประเทศกัมพูชาซึ่งสามารถเผากลายเป็นเพทายสีฟ้า เหลือง และไร้สี ซึ่งจะเป็นที่นิยมมากกว่าสีดั้งเดิมในตลาดอัญมณี ดังนั้นการศึกษาผลจากการเผาเพทายจากแหล่งบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรีด้วยความร้อนเพื่อให้สีต่างๆและคุณสมบัติอื่นๆจึงน่าสนใจเพราะยังไม่เคยมีผู้ใดศึกษามาก่อน การศึกษานี้เราใช้ตัวอย่างจำนวน 35 ตัวอย่างจากแหล่งบ่อพลอย ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามสี นั่นคือ กลุ่มสีน้ำตาลแดงถึงส้มเข้ม และกลุ่มสีส้มถึงน้ำตาลแดงอ่อน โดยทั้งสองกลุ่มมีค่าถ่วงจำเพาะเฉลี่ยประมาณ 4.569 และ 4.486 ซึ่งจัดเป็นเพทายชนิดสูง และตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่เรืองแสงภายใต้รังสีอุลตร้าไวโอเล็ตคลื่นสั้นและคลื่นยาว และลักษณะภายในที่พบ คือ มลทินของแข็ง ตำหนิแถบสี รอยแตกสมาน ตัวอย่างทั้งหมดได้นำไปเผาที่อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะรีดักชั่น เป็นเวลา 3 ชั่วโมง หลังจากนั้นสีของตัวอย่างได้เปลี่ยนจากสีน้ำตาลถึงไร้สีเป็นไร้สี เทาเข้ม และสีม่วง ทั้งสองกลุ่ม วัดเสปกตรัมการดูดกลืนแสงยูวีซึ่งเดิมก่อนเผามีการดูดกลืนช่วง 600 นาโนเมตร ถึงช่วงยูวีซึ่งเกี่ยวข้องกับการเกิดสีน้ำตาลหรือศูนย์กลางสีได้หายไปหลังจากทำการเผาพลอยยดังกล่าว นอกจากนี้ยังสามารถพบพีคของU5+ที่ตำแหน่ง 1150 และ 1157 นาโนเมตรทั้งก่อนและหลังเผา นอกจากนี้ พบว่าโครงสร้างที่ถูกทำลายได้มีการปรับปรุงดีขึ้น โดยดูจากเสปกตรัมการดูดกลืนช่วงอินฟราเรดพบว่าพีคของ O-H stretching ซึ่งปรากฏช่วง 2800-3200 cm-1 หายไปหรือชัดเจนขึ้นหลังจากทำการเผา และพีคของ V3(Si-O stretching) ซึ่งปรากฏในช่วง 1400-200 cm-1 ในบางตัวอย่าง มีความชัดเจนขึ้น นอกจากนี้รามานเสปกตรัม บอกถึงค่าเฉลี่ยพีคของ anti-SiO4 stretching คือ 1007.23 cm-1และ 1007.29 cm-1 ซึ่งจัดว่ามีความเป็นผลึกค่อนข้างสมบูรณ์หรือโดนทำลายไปเพียงเล็กน้อย โดยหลังจากทำการเผา ค่าV3 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 1007.67 cm-1 และ1007.46 cm-1 และค่าเฉลี่ยของ FWHM (Full with at Half Maximum)ก่อนเผาลดลงจาก 5.60cm-1 เป็น 5.46 cm-1 หลังเผา แสดงว่า การให้ความร้อนหรือการเผาสามารถปรับปรุงความเป็นผลึกให้สมบูรณ์ขึ้นได้ การวิเคราะห์เคมีด้วยเครื่อง LA-ICP-MS แสดงปริมาณธาตุต่างๆของเพทายจากแหล่งกาญจนบุรี เช่น Zr, Si, Hf, Th และ U เป็นต้น โดยกลุ่มสีน้ำตาลเข้มมีปริมาณธาตุ U น้อยกว่ากลุ่มสีน้ำตาลอ่อน และสูตรเคมีของเพทายจากแหล่งบ่อยพลอย อยู่ระหว่าง ZrSiO4 และ (Zr0.99,Hf0.01)SiO4
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2009
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53420
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watcharaporn_Full_report.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.