Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.authorเจนวิทย์ สินธุสัคค-
dc.date.accessioned2008-01-09T02:20:46Z-
dc.date.available2008-01-09T02:20:46Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741301715-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5343-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการกำจัดสัญญาณแทรกสอดเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในระบบ DS-CDMA เนื่องจากว่าสัญญาณแทรกสอดดังกล่าว จะทำให้ประสิทธิภาพของเครื่องรับลดลง วิทยานิพนธ์นี้เสนอ เทคนิคการหักล้างบางส่วนแบบขนาน เพื่อลดระดับสัญญาณแทรกสอดในเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดอย่างผสมในช่องสัญญาณที่มีการลดทอนแบบเรเลย์และในช่องสัญญาณรบกวนเกาส์เซียน ซึ่งเทคนิคการหักล้างบางส่วนแบบขนานนี้ จะใช้เพียงค่าเศษส่วนของการหักล้างที่เหมาะสมในการลดระดับสัญญาณแทรกสอดซึ่งจะเป็นการเพิ่มเพียงตัวปฏิบัติการในการคูณเข้าที่แต่ละขั้นของเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดอย่างขนาน ทำให้เป็นการประหยัดสำหรับการใช้งานจริง จากผลการจำลองระบบแสดงให้เห็นว่าค่าเศษส่วนของการหักล้างที่ดีที่สุดสำหรับในขั้นที่ 2 อยู่ในช่วง 0.4-0.9 และในขั้นที่ 3 จะอยู่ในช่วง 0.9-1.3 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่าสหสัมพันธ์ข้าม จำนวนผู้ใช้ และความยาวของสเปรดดิงโค้ด ในกรณีควบคุมกำลังส่งไม่สมบูรณ์ในช่องสัญญาณรบกวนเกาส์เซียน เทคนิคการหักล้างบางส่วนแบบขนานสามารถที่จะช่วยลดค่า BER เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดอย่างผสมแบบ 10-5-2 ในขั้นที่ 2 และ 3 ที่ 15 dB ได้ 77% และ 88% ตามลำดับ ส่วนในช่องสัญญาณที่มีการลดทอนแบบเรเลย์ กรณีควบคุมกำลังส่งไม่สมบูรณ์เปอร์เซ็นต์การลดลงของค่า BER ในเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดอย่างผสมแบบ 10-5-2 ใน ขั้นที่ 2 และ 3 ที่ 15 dB จะมีค่าเป็น 71.61% และ 85.45% ตามลำดับ รวมถึงเมื่อวัดจำนวนของการหักล้างและความล่าช้าของบิตแล้ว จะพบว่าเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดอย่างผสม จะให้ประสิทธิภาพที่ยอมรับได้ เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องรับแบบหักล้างการแทรกสอดแบบอื่นๆen
dc.description.abstractalternativeIn a DS-CDMA system, interference signal cancellation plays very significant role, because the interference signals cause the degradation of receivers. This thesis proposes a partial cancellation PIC technique in order to reduce the level of interference signal. This thesis focuses on the hybrid interference cancellation receiver with Rayleigh-fading and AWGN channel. The proposal technique exploits only optimal fraction of the cancellation for reducing interference level, which just adds a single multiplication operation at each stage of PIC and make PIC receiver more economical for real systems. As in the simulation results, the optimal fraction of the cancellation is between 0.4-0.9, for 2-stage, and 0.9-1.3, for 3-stage; however, the specific value depends on cross-correlation, the number of users, and the length of spreading code. In the case of imperfect power control in AWGN channels, BER of the proposed technique at 15 dB are 77%, for 2-stage, and 88%, for 3-stage, lower than those of HIC 10-5-2. The BER of proposed technique at 15 dB in the Rayleigh-fading channels are 71.61%, for 2-stage, and 85-45%, for 3-stage, lower than those of HIC 10-5-2. As for measuring of cancellation and bit delay, HIC receiver provides the acceptable performance compared to those of other interference cancellation receiversen
dc.format.extent3928983 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัสen
dc.subjectการหักล้างสัญญาณแทรกสอดแบบผสมen
dc.titleการปรับปรุงการหักล้างการแทรกสอดแบบผสม โดยใช้เทคนิคการหักล้างบางส่วนแบบขนาน ในช่องสัญญาณที่มีการลดทอนแบบเรเลย์ ในระบบการสื่อสารแบบแบ่งแยกด้วยรหัสชนิดไดเรกต์ซีเควนซ์en
dc.title.alternativeImprovement of hybrid interference cancellation using partial cancellation PIC technique in Rayleigh-fading channels in DS-CDMA systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.J@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jenvit.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.