Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญไชย สถิตมั่นในธรรม-
dc.contributor.authorรุ่งเกียรติ ลิ้มมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-14T11:31:38Z-
dc.date.available2008-01-14T11:31:38Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741310102-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5442-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการทดสอบพฤติกรรมการรับแรงดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่วางบนจุดรองรับธรรมดาจำนวน 6 คาน โดยเหล็กเสริมในแต่ละคานจะประกอบไปด้วย เหล็กเสริมธรรมดา ลวดเหล็กกล้าดึงเย็นชนิดผิวเรียบและชนิดผิวข้ออ้อย และมีการใช้เหล็กเสริมสองชนิดร่วมกัน พฤติกรรมที่สังเกตในการทดสอบ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและความโค้ง ระยะการโก่งตัวที่จุดกึ่งกลางช่วง และความกว้างรอยร้าวสูงสุด ลักษณะของรอยร้าวและรูปแบบการวิบัติ จากผลการทดสอบสามารถสรุปได้ว่าสำหรับคานที่เสริมด้วยลวดเหล็กทั้งหมดหรือบางส่วนสามารถใช้วิธีการความเครียดสอดคล้องร่วมกับสมการสมดุลของแรงในหน้าตัดเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและความโค้ง และสามารถใช้ข้อมูลของความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ดัดและความโค้งร่วมกับการปรับปรุงวิธีโมเมนต์อินนีเชียประสิทธิผล เพื่อหาระยะการโก่งตัวภายหลังที่เหล็กเสริมเกิดการยืดคราก และในแง่ของการควบคุมความกว้างของรอยร้าว การใช้ลวดเหล็กผิวข้ออ้อยจะให้ผลดีกว่า เหล็กเสริมธรรมดา และลวดเหล็กผิวเรียบ ตามลำดับ สำหรับลักษณะการวิบัติเมื่อมีการใช้ปริมาณลวดเหล็กต่ำๆ จะพบว่าภายหลังที่ลวดเหล็กมีค่าหน่วยแรงดึงมากกว่าจุดครากแล้ว คานจะเกิดการวิบัติของเนื่องจากการขาดของลวดเหล็ก จากการวิเคราะห์จะสรุปได้ว่าการใช้ลวดเหล็กทดแทนเหล็กเสริมธรรมดาโดยที่มีพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริมเท่ากัน จะให้ค่าโมเมนต์ดัดประลัยที่สูงกว่า แต่การจำนำค่าโมเมนต์ดัดเหล่านั้นมาใช้งานจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงพิกัดสภาวะใช้งานที่ยอมได้ของโครงสร้างนั้น และการใช้ลวดเหล็กทดแทนเหล็กเสริมธรรมดาโดยให้มีกำลังรับโมเมนต์ดัดประลัยเท่ากัน ค่าโมเมนต์ดัดใช้งานของคานจะต่ำกว่าคานที่เสริมด้วยเหล็กเสริมธรรมดา และในเรื่องของดัชนีความเหนียวพบว่า คานที่เสริมด้วยลวดเหล็กจะมีค่าดัชนีความเหนียวที่ต่ำ ซึ่งไม่เหมาะสมสำหรับโครงสร้างที่ต้องการการกระจายซ้ำของโมเมนต์en
dc.description.abstractalternativeThis research is the flexural behavior determination of beams, which reinforced by conventional steel, plain and deformed cold-drawn steel wire, and the combination of either type of steels. Six beams were tested on simply support and observed onthe moment-curature, moment-deflection, moment-maximum crack width, crack pattern, and mode of failure behavior. From the experiment, the strain compatibility method and equilibrium equation was used to predict the moment-curvature relation of beams, which full or partial reinforced by steel wire, correctly. Also, the moment-deflection relation of beams, especially for post-yielding stage, ws determined by using of previous moment-curvature data and the modified effective moment of inertia method. In case of cracking control, deformed wire gave better result than conventional steel and smooth wire, respectively. The observation shown that the using, approximately, minimum steel ratio, cold-drawn steel wire reinforced beam failed by rupture of wire. Analytical studyshown that the using of steel wire instant of convention steel by equivalent steel area produced higher ultimate moment capacity, but consideration of servicesbility was required. And the using of steel wire instant of convention steel by equivalent ultimate moment capacity resulted lower service moment than conventional reinforced beam. Finally, steel wire reinforced beam had usually low ductility index, which unsuitable to moment redistributed required structure.en
dc.format.extent5419159 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกำลังวัสดุen
dc.subjectคานคอนกรีตเสริมลวดเหล็กกล้าดึงเย็นen
dc.subjectความเครียดและความเค้นen
dc.titleพฤติกรรมการดัดของคานคอนกรีตเสริมลวดเหล็กกล้าดึงเย็นen
dc.title.alternativeFlexural behavior of cold-drawn steel wire reinforced concrete beamsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcebst@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Roongkiat.pdf5.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.