Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกชัย ลีลารัศมี-
dc.contributor.authorนภดล จิตต์จรัส-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-16T03:31:02Z-
dc.date.available2008-01-16T03:31:02Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743463917-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5477-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้กล่าวถึงการใช้เทคนิคของเมทริกซ์มากเลขศูนย์ เพื่อเพิ่มความเร็วในการทำงานของโปรแกรมจำลองวงจร "เล็ก" โดยใช้ประโยชน์จากความจริงที่ว่าเมทริกซ์สัมประสิทธิ์ของสมการวงจรไฟฟ้า โดยมากจะมีสมาชิกส่วนใหญ่เป็นค่าศูนย์หรือเรียกว่าเป็นเมทริกซ์มากเลขศูนย์ และโปรแกรมจำเป็นต้องแก้สมการวงจรเดิมซ้ำๆ กันหลายครั้ง เทคนิคดังกล่าวประกอบด้วยการใช้โครงสร้างข้อมูลเฉพาะ สำหรับเก็บค่าของเมทริกซ์มากเลขศูนย์ซึ่งช่วยลดขนาดหน่วยความจำ ที่เก็บเมทริกซ์, การเรียงลำดับใหม่ตามวิธีของ Markowitz เพื่อลดจำนวนสมาชิกที่ไม่ใช่ค่าศูนย์ และการข้ามการคำนวณกับค่าศูนย์ ในระหว่างการแก้สมการเมทริกซ์ด้วยวิธีแยกตัวประกอบแอล-ยู การใช้เทคนิคเหล่านี้มีผลให้ความซับซ้อน ของการแก้สมการวงจรไฟฟ้าลดลงอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคนิคการสร้างสูตรสำเร็จการแก้สมการเมทริกซ์ ในรูปของรหัสแบบแปลย่อยและรหัสคำสั่งเครื่อง โดยรหัสทั้งสองเป็นขั้นตอนแก้สมการวงจรที่ไม่มีคำสั่งวนรอบหรือคำสั่งกระโดดและอ่านค่าจากสมาชิกแต่ละตัวในเมทริกซ์โดยตรง ซึ่งช่วยให้ลดเวลาแก้สมการวงจรไฟฟ้าลงได้ถึง 10 เท่า อย่างไรก็ตาม โปรแกรมจะต้องใช้หน่วยความจำเพิ่มขึ้นสำหรับเก็บรหัสทั้งสองแบบ ซึ่งขนาดหน่วยความจำที่ใช้จะแปรตามจำนวนสมาชิกที่ไม่เป็นศูนย์ในเมทริกซ์ โดยถ้าเป็นวงจรขนาดใหญ่หน่วยความจำส่วนนี้จะมีขนาดใหญ่อย่างมากen
dc.description.abstractalternativeThis dissertation describes the implementation of sparse matrix techniques to speed up the execution of a circuit simulation program called "LEK". Its key idea is based on the facts that the coefficient matrix of the simulated circuit equation is usually sparse, i.e. consists of a large percentage of zero elements, and that the circuit equation is to be solved many times with the same zero-nonzero matrix structure. These techniques include a sparse matrix data structuring to reduce the memory storage of a sparse matrix, a Markowitz matrix reordering to reduce the amount of nonzero matrix operations and a sparse LU factorization procedure for performing only the nonzero operations. Using these techniques, the computational complexity of the circuit equation solving subroutine has been significantly reduced. Furthermore, a technique to generate a specialized runtime code for executing the sparse LU factorization is also described in details. Two types of code, namely an interpretive code and a machine code, have been implemented. These codes contain no loop nor jump instruction and access each matrix elements directly. Using these codes, the executiion of the sparse matrix equation solving can be furhter reduces up to 10 times. However, these codes also require additional memory whose amount depends on the number of nonzero matrix elements and therefore can be significants for a large circuiten
dc.format.extent2399486 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวงจรไฟฟ้าen
dc.subjectการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าen
dc.subjectเล็ก (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)en
dc.titleเทคนิคของเมทริกซ์มากเลขศูนย์สำหรับการจำลองวงจรไฟฟ้าในโปรแกรม "เล็ก"en
dc.title.alternativeA sparse matrix techniques for circuit simulation in the "LEK" programen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorEkachai.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
noppadol.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.