Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมณีรัตน์ สุกโชติรัตน์-
dc.contributor.authorอุษณีย์ ขำกัน, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-27T08:46:29Z-
dc.date.available2006-06-27T08:46:29Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741759339-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/547-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาไทยโดยใช้แนวการสอนแบบโฟร์บล็อกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนมหาวีรานุวัตร จำนวน 25 คน ผู้วิจัยทำการทดลองโดยใช้แนวการสอนแบบโฟร์บล็อก ได้แก่ ขั้นเลือก อ่านเอง ขั้นแนะให้อ่าน ขั้นเรียนรู้คำ และขั้นการเขียน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบความสามารถทางการอ่านภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์การประเมิน คือ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการทดลองร้อยละ 14 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์การประเมิน คือ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการทดลองร้อยละ 15 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการเขียนสรุปความจากบทอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการเขียนสรุปความจากบทอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์การประเมิน คือ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการทดลองร้อยละ 12 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was intended to develop Thai language reading ability by using Four-Blocks Approach for prathom suksa six students. The subject included 25 students of prathom suksa six in the academic year of 2003 from Mahawilanuwat School. The research had tried out the teaching of reading comprehension through utilizing 8-week Four-Blocks Approach which was composed of Self-Selected Reading, Guided Reading, Working with Words and Writing. The research instrument was the Thai language reading ability test. The data were were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation and t-test dependent. The results of this research indicated as follows: 1. The post-test arithmetic mean score of Thai language reading ability of prathom suksa six students was higher than the pre-test at the .05 level of significance. 2. The post-test arithmetic mean score of Thai language reading ability of prathom suksa six students was higher than the stipules criterion score. That was higher than fourteen percent of the arithmetic mean score in the pre-experiment at the .05 level of significance. 3. The post-test arithmetic mean score of Thai language reading comprehension ability of prathom suksa six students was higher than the pre-test at the .05 level of significance. 4. The post-test arithmetic mean score of Thai language reading comprehension ability of prathom suksa six students was higher than the stipules criterion score. That was higher than fifteen percent of the arithmetic mean score in the pre-exeriment at the .05 level of significance. 5. The post-test arithmetic mean score of summarizing ability of prathom suksa six students was higher than the pre-test at the .05 level of significance. 6. The post-test arithmetic mean score of summarizing ability of prathom six students was higher than the stipules criterion score. That was higher than twelve ercent of the arithmetic mean score in the pre-experiment at the .05 level of significance.en
dc.format.extent3667459 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.677-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษาen
dc.subjectภาษาไทย--การอ่านen
dc.titleการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาไทยโดยใช้แนวการสอนแบบโฟร์บล็อกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeA development of Thai language reading ability by using Four-Blocks Approach for prathom suksa six studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorManeerat.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.677-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aussanee.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.