Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.advisorสมนึก วิสุทธิแพทย์-
dc.contributor.authorดุสิต ธรรมแสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-18T10:39:55Z-
dc.date.available2008-01-18T10:39:55Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741722281-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5545-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงวิธีการจัดการใช้ใบมีดตัดของกระบวนการตัดแต่งไม้ยางพาราแปรรูปของอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ โดยเบื้องต้นจะทำการศึกษาคุณสมบัติของไม้ยางพาราและใบมีดตัดที่ใช้ในการทดลอง รวมถึงทำการศึกษาสภาวะที่ใช้ในการตัดแต่งชิ้นงานในปัจจุบัน ข้อกำหนดความหยาบผิวของชิ้นงาน จากนั้นทำการออกแบบการทดลองของตัวแปรที่ส่งผลต่อการตัด ได้แก่ ความเร็วรอบ ระยะลึกของรอยตัด และอัตราการป้อนงาน โดยจะแสดงผลการทดลองจากการวัดค่าการสึกหรอของใบมีดตัด ค่าของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการตัด และค่าความหยาบผิวของชิ้นงาน สุดท้ายนำเอาผลการทดลองไปปฏิบัติในสายการผลิต จากการศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้ผลลัพธ์คือ (1) การตัดในสภาวะการตัดแต่งชิ้นงานในปัจจุบันพบว่าสภาวะที่ดีที่สุด ใบมีดตัดจะมีอายุการใช้งานเท่ากับ 16.7 นาที ที่ระยะลึกเฉลี่ย 2.9 มม. อัตราป้อนเฉลี่ย 6.8 ม./นาที ความเร็วตัดเฉลี่ย 1810 ม./นาที และอัตราการสึกหรอใบมีดเท่ากับ 0.23 mm/นาที (2) การทดลองในสภาวะควบคุมสภาวะที่ดีที่สุดระยะลึกของรอยตัด 3 มม. อัตราป้อน 3 ม./นาที และความเร็วตัด 1712 ม./นาที จะให้อายุใบมีดตัดเท่ากับ 29.52 นาที และอัตราการสึกหรอใบมีดเท่ากับ 0.14 mm/นาที (3) การควบคุมสภาวะการตัด จะให้ความหยาบผิวที่ดีและอายุการใช้งานของใบมีดที่ยาวกว่าสภาวะการตัดในปัจจุบันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research work was to improve the use of machining cutter for transformed rubber-wood. The properties of rubber-wood and cutter were characterized. The existing cutting condition controlled by operator were studied for evaluating tool life. The controlled factors of feed, cutting speed and depth of cut affecting on surface roughness and tool wear were analyzed. The suitable cutting condition, then, applied to production line. The studied results found that (1) the existing conditions being the feed of 6.8 m/min, cutting speed of 1810 m/min and dept of cut of 2.9 mm. provided tool life of 16.7 min and tool wear rate of 0.23 mm/min, (2) the controlled conditions being the feed of 3 m/min, cutting speed of 1712 m/min and depth of cut 3 mm. provided tool life of 29.52 min and tool wear rate of 0.14 mm/min, (3) the controlled condition therefore, provided a remarkable better roughness and longer tool life than the existing condition.en
dc.format.extent4942688 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไม้ยางพาราen
dc.subjectใบมีดen
dc.titleการใช้ใบมีดตัดของกระบวนการตัดแต่งสำหรับไม้ยางพาราแปรรูปen
dc.title.alternativeCutter usage of machining process for transformed rubber-wooden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfiespj@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisornoekwisu@kmitnb.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dusit.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.