Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรกานต์ เมืองนาโพธิ์-
dc.contributor.advisorมานพ สุพรรณธริกา-
dc.contributor.authorปราณี กิตติอนงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-18T11:41:21Z-
dc.date.available2008-01-18T11:41:21Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741306121-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5558-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการศึกษาการแยกเศษเซลล์ออกจากผลิตภัณฑ์ภายในเซลล์เพื่อกำจัดความขมโดยใช้เครื่องกรองชนิดหมุนได้ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรก คือ ก่ารทำให้เซลล์แตกโดยใช้โฮโมจิไนเซอร์ พบว่าปริมาณโปรตีนที่ออกมานอกเซลล์จะเพิ่มขึ้นตามความดัน และจำนวนรอบที่ใช้ในการโฮโมจิไนเซอร์ ภาวะที่เหมาะสมในการทำเซลล์แตก คือ ความดัน 500 บาร์ 2 รอบ ความเข้มข้นสเปนท์บริวเวอร์ยีสต์ 12 เปอร์เซ็นต์ (น้ำหนักแห้งต่อปริมาตร) จะได้ปริมาณโปรตีน และความขม เท่ากับ 0.223 กรัมต่อกรัมเซลล์แห้ง และ 0.433 มิลลิกรัมไอโซ-แอลฟาแอซิดต่อกรัมเซลล์แห้ง ขั้นตอนที่ 2 คือ การกรองแยกเศษเซลล์ออกจากผลิตภัณฑ์ภายในเซลล์ โดยเริ่มจากการศึกษาผลของพีเอชในสารละลายยีสต์โฮโมจิเนทในช่วง 5, 6 และ 7.5 พบว่าพีเอชในช่วง 5-6 สารที่ให้ความขมยังคงติดอยู่ที่เศษเซลล์และถูกกักเก็บอยู่ในระบบ โดยประสิทธิภาพในการแยกเศษเซลล์ของเยื่อแผ่นเซรามิกที่มีรูพรุนขนาด 0.2 และ 0.9 ไมโครเมตร มีค่าเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาพบว่าเยื่อแผ่นที่มีรูพรุนขนาด 0.9 ไมโครเมตร เศษเซลล์จะอุดตันหรือปิดกั้นรูพรุนมากกว่าเยื่อแผ่นที่มีรูพรุนขนาด 0.2 ไมโครเมตร การศึกษาการกรองแยกเศษเซลล์ออกจากยีสต์โฮโมจิเนท และยีสต์ออโตไลเสท โดยใช้เยื่อแผ่นเซรามิกที่มีรูพรุนขนาด 0.2 ไมโครเมตร ความดัน 0.3 บาร์ อัตราการไหลของสายป้อน 35 ลิตรต่อชั่วโมง ความเร็วในการหมุนเยื่อแผ่น 600 รอบต่อนาที พบว่าอัตราการผลิตโปรตีนที่ได้จากการกรองยีสต์ออโตไลเสทมีค่าสูงกว่าการกรองยีสต์โฮโมจิเนทประมาณ 8 เท่า เปอร์เซ็นต์การกำจัดความขมที่ได้ เท่ากับ 80 เปอร์เซ็นต์ ภาวะในการศึกษาการเพิ่มอัตราการผลิตโปรตีนจากการกรองยีสต์ออโตไลเสท คือ ความเข้มข้นยีสต์ออโตไลเสท 20 กรัมต่อลิตร, ความดัน 0.3 บาร์ อัตราการไหล 11, 15 และ 35 ลิตรต่อชั่วโมง ความเร็วในการหมุนเยื่อแผ่น 600 และ 1000 รอบต่อนาที พบว่าอัตราการผลิตโปรตีนจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มความเร็วในการหมุนเยื่อแผ่น และลดอัตราการไหลของสายป้อน โดยที่อัตราการไหลของสายป้อน 11 ลิตรต่อชั่วโมง ความเร็วในการหมุนเยื่อแผ่น 1000 รอบต่อนาที จะได้อัตราการผลิตโปรตีนสูงสุด เท่ากับ 379 กรัมต่อตารางเมตร-ชั่วโมง ความขม 644 มิลลิกรัมไอโซ-แอลฟาแอซิดต่อตารางเมตร-ชั่วโมง ผลได้ของของแข็ง 37.79 เปอร์เซ็นต์ การเก็บเกี่ยวโปรตีน 59.66 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณโปรตีน 0.354 กรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ความขม 0.6 มิลลิกรัมไอโซ-แอลฟาแอซิดต่อกรัมน้ำหนักแห้ง เปอร์เซ็นต์การกำจัดความขม เท่ากับ 68.14 เปอร์เซ็นต์en
dc.description.abstractalternativeThe study of separating cell debris from intracellular product for debittering spent brewer's yeast by rotating microfiltration, the research work consists of two parts. Firstly, cells were disrupted by a homogenizer. It was found that the amount of protein release varied directly with pressure and number of passes of operating homogenizer. The optimum condition was 12% (w/V) spent brewer's yeast, 500 bar and 2 passes. The protein and bitterness content were found to be 0.223 g/gcdw. and 0.433 mg.IAA./gcdw. Secondly, the separated cell debris by microfiltration was further treated in the debittering process in pH ranges of 5, 6 and 7.5. It was indicated that the bitterness substances were adsorbed on cell debris at pH 5-6 and was removed by the membrane. The pore sizes of ceramic membrane were 0.2 mu m and 0.9 mu m providing 100% rejection. From this investigation, when the membrane pore size was larger, the cell debris plugged on it. An experimental study of the permeation of yeast homogenate and yeast autolysate (autolysis after homogenized) was carried out at transmembrane pressure of 0.3 bar, feed rate of 35 l/h, rotating speed of 600 rpm and ceramic pore size of 0.2 mu m. The production rate of protein from yeast autolysate (yeast extract) was 8-times higher than that obtained from yeast homogenate (yeast protein concentrate) with 80% debittering. The study of production rate of yeast extract by separating cell debris from yeast autolysate was conducted at 20 g/l yeast autolysate, 0.3 bar transmembrane pressure various feed rates (11, 15 and 35 l/h) and rotating speeds (600 and 1000 rpm). It was found that the protein productivity increased with increasing rotating speed and lowering feed rate. Maximum productivity of protein was 379 g/m2-h, bitterness 644 mg.lAA./m2-h, solid yield 37.79%, protein content 0.354 g/gdw, bitterness content 0.6 mg.lAA./gdw and 68.14% debittering efficiency and 11 l/h feed rate and 1000 rpm rotating speed.en
dc.format.extent2349676 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสเปนท์บริวเวอร์ยีสต์en
dc.subjectความขมen
dc.titleการประยุกต์ใช้ไมโครฟิลเตรชันในกระบวนการกำจัดความขมออกจากสเปนท์บริวเวอร์ยีสต์en
dc.title.alternativeApplication of microfiltration in debittering process of spent brewer's yeasten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorchirakarn.m@chula.ac.th-
dc.email.advisorscmsp@mahidol.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pranee.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.