Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56044
Title: การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะด้านจริยธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Other Titles: Development of moral characteristics scale for prathom suksa six students
Authors: วุฒิชัย ฉายวงศ์ศรีสุข
Advisors: ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Taweewat.p@chula.ac.th
Subjects: นักเรียนประถมศึกษา -- แง่ศีลธรรมจรรยา
จริยศาสตร์ -- การวัด
การทดสอบทางจิตวิทยา
การสร้างมาตรวัด (สังคมศาสตร์)
School children -- Moral and ethical aspects
Ethics -- Measurement
Psychological tests
Scaling (Social sciences)
Issue Date: 2536
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบวัดคุณลักษณะด้านจริยธรรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในห้าด้านด้วยกัน ได้แก่ ด้านความซื่อสัตย์ ความมีระเบียบวินัย ความอดทน ความเชื่อมั่นในตนเอง และความรับผิดชอบ ตัวอย่างประชากรที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2536 ของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 999 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย แบบวัดคุณลักษณะด้านจริยธรรมที่สร้างเป็นรูปแบบสถานการณ์จำนวน 30 ข้อ ใช้เวลาตอบทั้งหมด 60 นาที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าความเที่ยงของแบบวัด โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา พบว่าอยู่ระหว่าง 0.486 ถึง 0.644 2. อำนาจจำแนกรายข้อ จากเทคนิค 25 เปอร์เซ็นต์ พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความตรงตามสภาพหาโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่ได้จากการสอบกับคะแนนที่ได้จากการประเมินของครูประจำชั้น พบว่า มีความตรงตามสภาพสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกด้าน ความตรงเชิงจำแนก ทดสอบด้วยสถิติ t-test พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ .01 และมีความตรงเชิงโครงสร้างทุกด้าน
Other Abstract: The purpose of this research was to construct the moral characteristics scale for Prathom suksa six students in five parts, namely, honesty, discipline, tolerance, self-confidence, and responsibility. The subjects used in this research, obtained by using he simple random sampling technique, were 999 Prathom suksa six students of the academic year 1993 from the primary school under the Office of Metropolitan Primary Education in Bangkok Metropolitan. The scale consisted of situation type amount to 30 items. Time to complete the scale was 60 minutes. The results were as follows: 1. The reliability coefficient, calculated by the alpha coefficient were found as high as 0.486 to 0.644. 2. The power of discrimination according to the 25% technique was statistically significance at .05 level. 3. The concurrent validity of the scale determined by coefficient correlation between the scores obtained from the scale and from homeroom teacher’s evaluation were statistically significance at .01 level for all parts. The discriminant validity was also statistically significance at .01 level, and the construct validity was found as well.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56044
ISBN: 9745834319
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wutichai_ch_front.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_ch1.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_ch2.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_ch3.pdf6.66 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_ch4.pdf12.3 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_ch5.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Wutichai_ch_back.pdf9.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.