Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิบูลย์ ศรีเจริญชัยกุล-
dc.contributor.advisorดวงเดือน อาจองค์-
dc.contributor.authorเดชาวิทย์ พัววิไล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-11-30T03:48:22Z-
dc.date.available2017-11-30T03:48:22Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเชิงเคมีความร้อน ของของผสมอัดเม็ดจากกากสบู่ดำและของเสียกลีเซอรอล โดยใช้ชุดทดสอบที่เรียกว่า single particle reactivity testing (SPRT) จากการไพโรไลซิส และ แกซิฟิเคชันที่อัตราส่วน 1%และ 5% ออกซิเจน อุณหถูมิ 500-900°C โดยทำการศึกษาร้อยละการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (น้ำหนัก เส้นผ่านศูนย์กลาง ความสูง และความหนาแน่น) ระยะเวลาที่ใช้ในการสลายตัวด้วยความร้อน และ อัตราการเผาไหม้ จากผลการทดลองพบว่า ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก เส้นผ่านศูนย์กลาง ความสูง จะเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนของเสียกลีเซอรอล อุณหภูมิ และอัตราส่วนออกซิเจน และร้อยละการเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นมีการเพิ่มขึ้นลดลงไม่แน่นอน ขณะที่อัตราการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักต่อระยะเวลาที่ใช้ในการสลายตัวด้วยความร้อน และ อัตราการเผาไหม้จะลดลงตาม อัตราส่วนของเสียกลีเซอรอล อุณหภูมิ และ อัตราส่วนออกซิเจน ที่อัตราส่วน 10% ของเสียกลีเซอรอล มีค่า Compressive stress สูงสุด (2.52 *105 N/m2) และที่อัตราส่วน 30% ของเสียกลีเซอรอลจะให้ค่า Compressive stress ต่ำสุด (1.98*104 N/m2) พบว่าขณะเกิดการแปรสภาพของของผสมที่อัตราส่วน 50% ของเสียกลีเซอรอลทั้งโดยการการไพโรไลซิสและแกซิฟิเคชัน อัตราส่วนออกซิเจน 1% และ 5% ที่อุณหภูมิ 500°C จะเกิดการเปลี่ยนแปลงสัณฐานโดยการพองตัวขึ้น อันอาจเนื่องมาจากการแปรสภาพเป็นก๊าซและเกิดแรงดันสูงผลักดันผนังของวัตถุดิบออกมาอย่างรวดเร็วen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research was to investigate the thermochemical conversion characteristic of mixed pellet of physic nut and glycerol wastes using single particle reactivity testing (SPRT) under pyrolysis and 1% and 5% oxygen gasification conditions at 500-900°C. Percentages on physical changes (weight, diameter, height and density), conversion time and burning rate of mixed pellets were to be studied. The result indicated increase in percentage changes on weight, diameter and height with higher glycerol waste content, temperature as well as oxygen concentration while changes on density was random. At the same time, rate of weight change to time required for thermal conversion and burning rate would decrease when glycerol fraction, reaction temperature, and oxygen content increased. Highest compressive stress (2.52 *105 N/m2) was achieved at 10% glycerol content while lowest value (1.98*104 N/m2) occurred at 30% glycerol fraction. It should be noted that during waste pellet conversion at 50% glycerol, for both pyrolysis and 1%, 5% oxygen gasification conditions at 500°C, there were significant morphological changes of the sample by swelling. This was probably due to rapid gas formation which created high pressure and pushed out the inner wall of sample pellet.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2060-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสบู่ดำ -- สมบัติทางความร้อนen_US
dc.subjectกลีเซอรีน -- สมบัติทางความร้อนen_US
dc.subjectJatropha curcas -- Thermal properties-
dc.subjectGlycerin -- Thermal properties-
dc.titleลักษณะเฉพาะเชิงเคมีความร้อนของของผสมอัดเม็ดจากกากสบู่ดำและของเสียกลีเซอรอลen_US
dc.title.alternativeThermochemical charachteristics of physic nut and glycerol wastes pelleten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorviboon.sr@chula.ac.th-
dc.email.advisorduangdao.a@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2060-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Dechawit_Puavilai.pdf119.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.