Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57095
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุ่นตา นพคุณ-
dc.contributor.advisorอุทัย ดุลยเกษม-
dc.contributor.authorโอวาท สุทธนารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2018-02-18T12:41:06Z-
dc.date.available2018-02-18T12:41:06Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57095-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาท 2 ด้าน ของผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน คือ ด้านการสร้างจิตสำนึกเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนและด้านการจัดองค์กรประชาชนเพื่อหนุนช่วยการพึ่งตนเองของชุมชนโดยวิธีการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาผลกระทบของบทบาทของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความเปลี่ยนแปลงของชุมชนในการทำไร่นาสวนผสม ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมิได้จัดสรรบทบาทในการสร้างจิตสำนึกเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนขึ้นภายในกลุ่มของตนอย่างเป็นทางการ หากแสดงบทบาทอย่างไม่เป็นทางการตามลักษณะเด่นของแต่ละคนประกอบด้วยบทบาท 5 ด้าน คือ ด้านผู้นำกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง ด้านผู้นำทางเทคนิคการเกษตร ด้านผู้นำทางความคิด ด้านผู้นำทางการปฏิบัติ และด้านผู้นำทางการประชาสัมพันธ์ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงใช้ 3 กลวิธีที่สัมพันธ์กันในการสร้างจิตสำนึกเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน คือ การสาธิต การกระตุ้นให้คิด และการให้ความรู้ และใช้โอกาสหรือวาระอย่างไม่เป็นทางการในการสร้างจิตสำนึกเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนเป็นส่วนใหญ่ 2. ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีบทบาทในการจัดองค์กรประชาชน 2 องค์กรเพื่อหนุนช่วยการพึ่งตนเองของชุมชน คือ กลุ่มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและกลุ่มปุ๋ย ในกลุ่มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำนั้น ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของแกนนำในการจัดองค์กรร่วมกับหน่วยงานราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและไม่สามารถช่วงชิงการนำภายในองค์กรมาเป็นของตนได้ ประชาชนมีส่วนร่วมน้อยมากในการดำเนินงาน ส่วนใหญ่กลุ่มปุ๋ยนั้น ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีบทบาทเป็นกลุ่มแกนในการจัดองค์กร ประชาชนมีส่วนร่วมในระดับสูงในทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน 3. ผลกระทบของบทบาทของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อความเปลี่ยนแปลงของชุมนุมในการทำไร่นาสวนผสมอยู่ในระดับน้อย โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยสำคัญประการหนึ่งคือ การขาดการจัดองค์กรภายในกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลงเอง ทำให้ผู้นำการเปลี่ยนแปลงไม่สามารถยกระดับบทบาทของตนให้เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลเพียงพอต่อการสร้างผลกระทบดังกล่าวได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research was mainly aimed to study the two roles of change agents in organizing education for community self-reliance. Namely, their roles were concerned with developing consciousness for community self-reliance and organizing people’s organization to support community self-reliance by means of people’s participation. In addition, the another purpose of this research was to study the impacts of the roles of the change agents as mentioned on changes in community’s integrated farming. The findings can be summarized as follow : 1. The consciousness development role of the change agents was mostly informal and depends on their own leadership characteristics. These leader-ship characteristics were demonstrated in 5 ways; being the leader of change agents group, being the leader in agricultural technology development, being the leader in creative thinking, being the leaders in practice, and being the leaders in communication. The change agents employed three strategies to develop consciousness for community self-reliance. They were demonstration, idea stimulation, and giving knowledge. All strategies were informally interrelated. 2. The change agents organized two people’s organizations to support community self-reliance, namely the Aquaculture Group and the Fertilizer Group. The change agents in the Aquaculture Group cooperated with some government officers to organize group. However, this group failed to operate independently without government officers’ control since most people in the group are usually reluctant in participation. As for the Fertilizer Group, change agents can perform as a core group in organizing group and most people highly participate in every steps of the operation. 3. The impacts of the roles mentioned on changes in community’s integrated farming is insignificant. The failure may be attributed to the lack of a suitable organization among change agents. Because of this drawback, change agents are unable to improve their roles to become some sufficient conditions on change in community’s integrated farming.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้นำการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.subjectชุมชน -- การศึกษาen_US
dc.subjectการพึ่งตนเองen_US
dc.subjectการใช้ชีวิตแบบพึ่งตนเองen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางสังคมen_US
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectTransformational leadershipen_US
dc.subjectCommunities -- Educationen_US
dc.subjectSelf-relianceen_US
dc.subjectSelf-reliant livingen_US
dc.subjectSocial participationen_US
dc.subjectCommunity development -- Citizen participationen_US
dc.titleบทบาทของผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษา เพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน โดยวิธีการมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.title.alternativeRoles of change agents in organizing education for community self-reliance by means of people's participationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOonta.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ovat_su_front.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_ch1.pdf960.87 kBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_ch2.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_ch3.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_ch4.pdf14.21 MBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_ch5.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open
Ovat_su_back.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.