Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorปานชนก มณีไมตรีจิต-
dc.contributor.authorวริษา สุกิตติพัฒนากุล-
dc.contributor.authorสุขวสา นันทวิภาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-03-21T06:26:27Z-
dc.date.available2018-03-21T06:26:27Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57882-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ว่าเจตคติต่อพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต บรรทัดฐานทางสังคม และความสามารถในการปกปิด สามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจในการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานองค์การจำนวน 246 คน แบ่งเป็นเพศชาย 91 คน และเพศหญิง 155 คน อายุระหว่าง 22 – 36 ปี ซึ่งมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 28.09 (SD = 4.065) ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือมาตรวัดพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต (α = .785) มาตรวัดเจตคติต่อพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต (α = .890) มาตรวัดบรรทัดฐานทางสังคม (α = .851)มาตรวัดความสามารถในการปกปิด (α = .902) และมาตรวัดความตั้งใจในการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต (α = .810) วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจในการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตได้ร้อยละ 20.4 โดยเจตคติต่อพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตมีน้ำหนักในการทำนายความตั้งใจในการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด (β = .359, p < .01) และพฤติกรรมการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจในการอู้งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .322, p < .01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe present research aims to study the predictors of cyberloafing behaviors based on the planned behavioral theory. Two hundred and forty-six organizational officer participants (91 males and 155 females), between the ages of 22 and 36 (M = 28.09, SD = 4.065) were recruited. The research instruments were: cyberloafing behaviors scale (α = .785), cyberloafing attitudes scale (α = .890), social norms scale (α = .851), ability to hide scale (α = .902), and cyberloafing intention scale (α = .810). This research used multiple regression analysis to analyze the data. The results suggested that 20.4% of the variance in cyberloafing intention was significantly accounted for by cyberloafing attitudes, social norms, and ability to hide. It also showed that cyberloafing intention was positively correlated with cyberloafing behaviors respectively (r = .322, p < .01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจิตวิทยาอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectการงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectเจนเนอเรชันวาย -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectผู้เลี่ยงงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectPsychology, Industrialen_US
dc.subjectWork -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectGeneration Y -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectSlackers -- Psychological aspectsen_US
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการอู้ งานผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตในพนักงานเจเนอเรชันวายen_US
dc.title.alternativeFactors predicting cyberloafing behaviors in generation y employeesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorarunya.t@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
panchanok_ma.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.