Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorอภิชนา แสงรุ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-29T10:51:24Z-
dc.date.available2018-04-29T10:51:24Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58583-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการจัดการการสื่อสาร รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการ และอุปสรรค ปัญหา ในการสื่อสารและการดำเนินงานของโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น โดยศึกษาเอกสารจากสำนักงานโครงการ และจากหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการย่อยทั้ง 9 โครงการ ข่าวสารที่เกี่ยวกับโครงการ ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น การวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจการรับรู้ข่าวสารจากการประชาสัมพันธ์ และความพึงพอใจที่มีต่อโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น โดยทำการสำรวจ จากผู้ประกอบการและบุคลากรด้านแฟชั่น จำนวน 250 คน รวมทั้งตัวแทนของผู้ประกอบการ และบุคลากรด้านแฟชั่น จำนวน 3 ท่าน ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า กระบวนการสื่อสารของโครงการเป็นการสื่อสาร 2 ทาง โดยแบ่งเป็นการสื่อสารระหว่างสำนักงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น กับโครงการย่อย และการประชาสัมพันธ์กับกลุ่มบุคคลภายนอก โดยมีกลุ่มผู้ประกอบการและบุคลากรด้านแฟชั่นเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก การประชาสัมพันธ์เน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ และเพื่อสนับสนุนการตลาด เพื่อสร้างให้กรุงเทพฯ มีภาพลักษณ์ของการเป็นเมืองแฟชั่น และสามารถสร้างมูลค่าการตลาดให้กับอุตสาหกรรมสินค้าแฟชั่นได้ กลยุทธ์ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ใช้การสร้างเครือข่ายเพื่อการประชาสัมพันธ์ การสร้างการรับรู้ และใช้สื่อมวลชนในการประชาสัมพันธ์ทุกประเภท ผลการวิจัยเชิงสำรวจพบว่า ผู้ประกอบการและบุคลากรด้านแฟชั่นมีการรับรู้ข่าวสารจากการประชาสัมพันธ์โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่นในระดับสูง และมีความพึงพอใจต่อโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่นในระดับปานกลางen_US
dc.description.abstractalternativeThis study on the Bangkok Fashion City project is divided into two parts: a qualitative and a quantitative. In the first part, documents from the project's main office and other nine responsible agencies, media coverage of the project, and interviews with those having roles in it were used to study the project's communication management process, factors affecting success, and obstacles found in the overall communication and management. The quantitative part studied public perception and satisfaction with the project, based on data obtained from a survey conducted with 250 subjects, including fashion industry entrepreneurs and fashion house personnel, as well as other 3 industry representatives. The findings are as follows: 1. The project used a 2-way communication process to facilitate communication between its main office and other related projects, and between the office and outsiders, with fashion industry entrepreneurs and workers as its main targets. 2. The main PR objective of the project is to create a recognizable image of Bangkok as "the City of Fashion" to generate marketing support and value for products from the fashion industry. 3. The project used the following public relations strategies: building of public relations network, perception and knowledge intensity, and using IMC for all kinds of PR. activities. 4. The survey subjects had a high level of perception and knowledge of the project, while the level of satisfaction was moderate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.486-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น -- การจัดการen_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectBangkok Fashion City Project -- Managementen_US
dc.subjectPublic relationsen_US
dc.titleการวิเคราะห์กระบวนการจัดการ การสื่อสาร ของโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่นen_US
dc.title.alternativeThe analysis of communication management of Bangkok Fashion City projecten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTanawadee.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.486-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apichana_sa_front.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_ch1.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_ch2.pdf6.09 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_ch3.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_ch4.pdf9.15 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_ch5.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open
apichana_sa_back.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.