Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลพร บัณฑิตยานนท์-
dc.contributor.authorวิมล กระต่ายทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-19T11:06:45Z-
dc.date.available2008-02-19T11:06:45Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303513-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5878-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการใช้กลวิธีการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทย และเปรียบเทียบความสามารถในการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มที่ใช้กลวิธีการสรุปอิงความแตกต่างกัน ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครร ปีการศึกษา 2543 จำนวน 597 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างประชากรแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามการใช้กลวิธีการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทย ที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงมาจากกลวิธีการสรุปอิงความ ในการอ่านภาษาอังกฤษของ ลินดา ฟิลลิปส์ ริกกส์ (Linda Philips Riggs) และแบบสอบวัดความสามารถในการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. กลวิธีการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทยที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้ 4 กลวิธีเรียงลำดับมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด ได้แก่ กลวิธีการพิจารณาบริบทแวดล้อม กลวิธีการเลือกข้อสรุปจากทางเลือกที่หลากหลาย กลวิธีการเชื่อมโยงเข้ากับประสบการณ์ และกลวิธีการตั้งคำถาม ตามลำดับ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้กลวิธีการสรุปอิงความแตกต่างกัน มีความสามารถในการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 4 คู่ ได้แก่ 1) คะแนนความสามารถของนักเรียน กลุ่มที่ใช้กลวิธีการพิจารณาบริบทแวดล้อม กับคะแนนความสามารถของนักเรียน กลุ่มที่ใช้กลวิธีการเชื่อมโยงเข้ากับ ประสบการณ์ 2) คะแนนความสามารถของนักเรียน กลุ่มที่ใช้กลวิธีการพิจารณาบริบทแวดล้อม กับคะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ใช้กลวิธีการตั้งคำถาม 3) คะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ใช้ กลวิธีการเชื่อมโยงเข้ากับประสบการณ์ และ 4) คะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ใช้กลวิธี การเลือก ข้อสรุปจากทางเลือกที่หลากหลาย กับคะแนนความสามารถ ของนักเรียนกลุ่มที่ใช้กลวิธีการตั้งคำถาม 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้กลวิธีการสรุปอิงความแตกต่างกัน มีความสามารถในการสรุปอิงความในการอ่านภาษาไทยไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 2 คู่ ได้แก่ 1) คะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ใช้กลวิธีการพิจารณาบริบทแวดล้อม กับคะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มที่ใช้กลวิธีการเลือก ข้อสรุปจากทางเลือกที่หลากหลาย และ 2) คะแนนความสามารถของนักเรียนกลุ่มใช้กลวิธีการตั้งคำถามen
dc.description.abstractalternativeTo study the inferencing strategies used in reading Thai language and compare the inferencing ability in reading Thai language of mathayom suksa five students among groups using different inferencing strategies. The samples of this research were 597 mathayom suksa five students in secondary schools under the Department of General Education, Bangkok Metropolis in the academic year 2000, selected by using the multi-stage random sampling technique. The research instruments were the inferencing strategies in reading Thai Language Questionnaire which was modified from that of Linda Philips Riggs by the researcher, and the inferencing ability in reading Thai Language test which was constructed by the researcher. The obtained data were analyzed by means of frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and one-way analysis of variance. The results of the study were as follos : 1. The four inferencing strategies in reading Thai Language that mathayom suksa five students used the most to the least were the considering context strategy, the making conclusions from alternatives strategy, the relating content to experiences strategy and the text questioning strategy, respectively. 2. Mathayom suksa five students with different inferencing strategies had different inferencing ability in reading Thai Language at the .05 level of significance in four pairs, consisted of 1) abilities of those who used the considering context strategy and abilities of those who used the relating content to experiences strategy, 2) abilities of those who used the considering context strategy and abilities of those who used the text questioning strategy, 3) abilities of those who used the making conclusions from alternatives strategy and abilities of those who used the relating content to experiences strategy, and 4)abilities of those who used the making conclusions from alternatives strategy and abilities of those who used the text questioning strategy. 3. Mathayom suksa five students with different inferencing strategies had no different inferencing ability in reading Thai Language at the .05 level of significance in two pairs, consisted of 1) abilities of those who used the considering context strategy and abilities of those who used the making conclusions from alternatives strategy, and 2) abilities of those those who used the relating content to experiences strategy and abilities of those who used the text questioning strategy.en
dc.format.extent1165569 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.424-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอ่านen
dc.subjectความเข้าใจในการอ่านen
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่านen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการสรุปความ ในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 5 ระหว่างกลุ่มที่ใช้กลวิธีการสรุปอิงความแตกต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of inferencing ability in reading Thai language of mathayom suksa five students among groups using different inferencing strategiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKamonporn.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.424-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WimonKra.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.