Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58816
Title: การศึกษาภาพ 3 มิติ ในผู้ป่วยไทยกลุ่มหนึ่ง : ส่วนที่ 1 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยปริมาตรทางเดินหายใจระหว่างเพศชายและเพศหญิง ช่วงอายุ 11-20 ปี และการหาค่าสหพันธ์ของโครงสร้างกะโหลกศรีษะและใบหน้า : ส่วนที่ 2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยปริมาตรทางเดินหายใจระหว่างเพศชายและหญิง 3 กลุ่มในช่วงอายุ 21-50 ปี : รายงานวิจัย
Other Titles: Comparison means of airway volume between males and females, from 11 to 20 years old and correlation of craniofacial structures
Comparison means of airway volume among 3 age groups, males and females, from 21 to 50 years old
Authors: ศิริมา เพ็ชรดาชัย
วรรณาภรณ์ ชื่นชมพูนุท
Email: sirima.c@chula.ac.th
Vannaporn.C@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
Subjects: กะโหลกศีรษะ
ใบหน้า
ทางเดินหายใจ
ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปริมาตรทางเดินหายใจจะวัดได้จากภาพรังสี 3 มิติ เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการรักษา โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่อาจมีความเสี่ยงของสภาวะขาดอากาศในขณะนอนหลับ วัตถุประสงค์ เพื่อหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยปริมาตรทางเดินหายใจระหว่างเพศหญิงและชาย ในช่วงอายุ 11 ถึง 20 ปี และหาค่าสหสัมพันธ์ของโครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้า จากตัวแปรที่ใช้คัดเลือกตาแหน่งก้ม-เงย และโครงสร้างกระดูกที่ปกติทั้งแนวราบและดิ่ง วิธีการ หาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยปริมาตรทางเดินหายใจจากเพศชาย 14 คน เพศหญิง 9 คน ด้วย independent t-test และค่าสหสัมพันธ์ของตัวแปรโดยคัดเลือกมาจากค่าตัวแปรที่กล่าวมา ผลการวิจัย ไม่พบความแตกต่างของปริมาตรระหว่างเพศชายและเพศหญิง (p<0.05) ได้ค่าเฉลี่ยรวม 9.91 ± 4.02 ซม.3 และค่าสหสัมพันธ์ของตัวแปรที่กล่าวแล้ว คือ SNCV2 กับ PPCV2 สาหรับตาแหน่งก้ม-เงย, SNMP and PPMP สาหรับโครงสร้างในแนวดิ่ง, ANB and APP-BPP สาหรับโครงสร้างในแนวราบ ล้วนมีความสัมพันธ์ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 ข้อสรุป เพศชายและเพศหญิง มีปริมาตรทางเดินหายใจไม่แตกต่างกัน และค่าสหสัมพันธ์ของตัวแปรโครงสร้างกระดูกทุกค่ามีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.01
Other Abstract: Obtaining airway volume from 3D Cone Beam Computerized Tomography (CBCT) could help treatment planning, especially those who are at risk of sleep apnea. Purposes: To find the statistical significant difference of mean airway volumes between males and females, from 11 to 20 years, and to find correlation of craniofacial structures in skeletal Class I both in the horizontal and vertical relationship in the accepted head position. Methods: Mean airway volumes of 14 males and 9 females were compared by independent t-test. Correlation among variables was analyzed. Results: No statistical significant difference of mean airway volumes was found between males and females (p<0.05) and the total airway volume was 9.91 ± 4.02 cm3. Craniofacial structures revealed significant correlation among variables between SNCV2 and PPCV2 for head position, SNMP and PPMP for vertical relationship, ANB and APP-BPP for horizontal relationship (p<0.01). Conclusion: Males and females, aged 11 to 20 years, had similar airway volume. Significant correlation was shown among craniofacial structures (p<0.01).
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58816
Type: Technical Report
Appears in Collections:Dent - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
b21469696_Sirima Pe.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.