Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจิดศักดิ์ ไชยคุนา-
dc.contributor.authorแพรพรรณ ศรีสอ้าน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:06:24Z-
dc.date.available2018-09-14T05:06:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59480-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของกลีเซอรอลและไดเมทิลคาร์บอเนต โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมฟอสเฟต โดยทำการทดลองในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมฟอสเฟตร้อยละ 1 3 และ 5 โดยน้ำหนักของกลีเซอรอล อัตราส่วนโดยโมลระหว่างกลีเซอรอลต่อไดเมทิลคาร์บอเนต 1:1 1:2 1:3 และ 1:4 อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาที่ 60 70 75 และ 80 องศาเซลเซียส ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมฟอสเฟตมีความว่องไวในการทำปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของกลีเซอรอลและไดเมทิลคาร์บอเนต การเพิ่มปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ไม่เกินร้อยละ 3 โดยน้ำหนักของกลีเซอรอล ส่งผลให้ค่าร้อยละผลได้ของกลีเซอรอลคาร์บอเนตมีค่าเพิ่มมากขึ้น การลดลงของอัตราส่วนโดยโมลระหว่างกลีเซอรอลต่อไดเมทิลคาร์บอเนต ส่งผลให้ค่าร้อยละการแปลงผันของกลีเซอรอลและค่าร้อยละผลได้ของกลีเซอรอลคาร์บอเนตเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดการเกิดดีคาร์บอกซิเลชันของกลีเซอรอลคาร์บอเนตไปเป็นไกลซิดอลอีกด้วย ในส่วนของการเพิ่มอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาส่งผลให้ค่าร้อยละการแปลงผันของกลีเซอรอล ค่าร้อยละผลได้ของกลีเซอรอลคาร์บอเนตเพิ่มสูงขึ้นและยังช่วยให้ปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลเร็วมากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis research is study on transesterification of glycerol and dimethyl carbonate using sodium phosphate as a solid catalyst. The experiments were conducted in a batch stirred tank reactor with amounts of catalyst of 1, 3 and 5 wt.%. of glycerol, glycerol to dimethyl carbonate molar ratios of 1:1, 1:2, 1:3 and 1:4, temperatures of 60, 70, 75 and 80 degree Celsius. The experimental results demonstrated that sodium phosphate can be used effectively as a catalyst in transesterification reaction of glycerol and dimethyl carbonate. Increase amounts of catalyst no greater than 3 wt.% resulted in an increase glycerol carbonate yield. The decrease of glycerol to dimethyl carbonate molar ratios resulted in increase glycerol conversion and glycerol carbonate yield. In addition decarboxylation of glycerol carbonate to glycidol is reduced. An increase temperature resulted in increase glycerol conversion, glycerol carbonate yield and the reaction to reach equilibrium faster.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1290-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกลีเซอรีน-
dc.subjectทรานเอสเทอริฟิเคชัน-
dc.subjectGlycerin-
dc.subjectTransesterification-
dc.titleปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของกลีเซอรอลและไดเมทิลคาร์บอเนตโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมฟอสเฟต-
dc.title.alternativeTransesterification of glycerol and dimethyl carbonate using sodium phosphate as a solid catalyst-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorJirdsak.T@Chula.ac.th,Jirdsak_t@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1290-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770254621.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.