Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี วงศ์จันทร์-
dc.contributor.advisorชาคร จารุพิสิฐธร-
dc.contributor.authorบดีพล รุ่งเรืองธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-22T07:35:15Z-
dc.date.available2008-02-22T07:35:15Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303742-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5950-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาการละลายแมงกานีสจากไพโรลูไซต์ของเหมืองหนองสองห้อง จังหวัดเชียงราย ด้วยสารละลายเฟอร์รัสคลอไรด์ในกรดไฮโดรคลอริก ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วยอัตราการกวน อุณหภูมิตั้งแต่ 33 องศาเซลเซียส ถึง 90 องศาเซลเซียส ปริมาณเฟอร์รัสคลอไรด์ ปริมาณเฟอร์ริกคลอไรด์ ความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกในสารละลายตั้งแต่ 0.5 ถึง 3.0 โมลต่อลิตร ขนาดเม็ดแร่ และเปอร์เซ็นต์ของแข็งไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ ผลการทดลองพบว่า การใช้อุณหภูมิและปริมาณเฟอร์รัสคลอไรด์เพิ่มขึ้นมีผลให้ได้เปอร์เซ็นต์การสกัดแมงกานีสจากแร่เพิ่มขึ้น พลังงานกระตุ้นที่วัดได้มีค่าเท่ากับ 3.88 กิโลจูลต่อโมล (0.92 กิโลแคลอรีต่อโมล) อันดับของปฏิกิริยาในแง่ความเข้มข้นของเฟอร์รัสคลอไรด์เท่ากับ 0.83 ความเข้มข้นของเฟอร์ริกคลอไรด์ไม่มีผลต่ออัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาในการศึกษานี้ ขนาดเม็ดแร่ที่เล็กลงช่วยให้อัตราเร็วในการละลายแมงกานีสสูงขึ้น ในขณะที่การใช้เปอร์เซ็นต์ของแข็งมากขึ้นทำให้ได้เปอร์เซ็นต์การสกัดแมงกานีสลดลง กลไกในการเกิดปฏิกิริยาเป็นไปตามแบบจำลองการเกิดนิวเคลียสและการโตขึ้นของเกรน และกรรมวิธีนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้สกัดแมงกานีสจากไพโรลูไซต์ได้en
dc.description.abstractalternativeKinetics of mangenese leaching from pyrolusite of Nhong Shong Hong mine, Chaing Rai province by ferrous chloride in hydrochloric acid was investigated. The variables studied included stirring speed, reaction temperature of 33 degree celcius to 90 degree celcius, amount of ferrous chloride and ferric chloride, hydrochloric acid concentrations of 0.5 to 3.0 M, various particle sizes and percent solid up to 10 percent. The results indicate that the rate of manganese leaching from pyrolusite increases with increased reaction temperature and increased amount of ferrous chloride. The activation energy was measured to be 3.88 KJ/mol (0.92 Kcal/mol). The reaction order with respect to ferrous chloride concentration was determined to be 0.83. Ferric chloride concentration does not affect the rate in this study. With decreased particle size of pyrolusite the rate of leaching increases. But with increased percent solid in the leaching solution, the rate of managanese extraction decreases. The reaction mechanism follows nucleation and grain growth model. This process can be applied to extract manganese from pyrolusiteen
dc.format.extent1373266 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแมงกานีสen
dc.subjectแมงกานีส -- โลหวิทยาen
dc.subjectเฟอร์รัสคลอไรด์en
dc.subjectการละลายen
dc.titleจลนพลศาสตร์ของการละลายแมงกานีสจากไพโรลูไซต์ด้วยเฟอร์รัสคลอไรด์en
dc.title.alternativeKinetics of manganese leaching from pyrolusite by ferrous chlorideen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmtsvc@eng.chul.ac.th, Sumalee.V@chula.ac.th-
dc.email.advisorChakorn.J@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bordeephol.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.