Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorธาดา อาภาธณานุวัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-22T09:39:07Z-
dc.date.available2008-02-22T09:39:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741737068-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5960-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการ ต้นทุนโลจิสติกส์ภาคพื้นดิน และประสิทธิภาพของการนำเข้าและส่งออกสินค้าด้วยคอนเทนเนอร์ทางทะเล โดยมุ่งเน้นเฉพาะในสินค้าประเภทสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม จากการพิจารณาค่าใช้จ่ายที่เกิดกับผู้นำเข้าและผู้ส่งออกและเวลาของแต่ละกิจกรรมตลอดกระบวนการ ทั้งการนำเข้าและส่งออกสินค้าด้วยคอนเทนเนอร์ทางทะเลของแต่ละกรณีศึกษาแล้ว พบว่าค่าขนส่งสินค้า/ตู้สินค้า มีค่ามากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 20.7-41.6 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด สำหรับกรณีนำเข้า และประมาณร้อยละ 28.0-35.5 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด สำหรับกรณีส่งออก และพบว่ามีกิจกรรมที่มีสัดส่วนเวลาดำเนินงานค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับเวลารวมทั้งหมดแล้วอยู่หลายกิจกรรมด้วยกัน ได้แก่ ในส่วนของการขนส่งสินค้า/ตู้สินค้า การผ่านพิธีการศุลกากร การปฏิบัติที่ท่าเรือ หรือ รพท. และ การจัดเตรียมเอกสาร การนำเข้าและส่งออกสินค้าด้วยคอนเทนเนอร์ทางทะเลของประเทศไทยยังมีปัญหาในอีกหลายด้าน ทั้งในส่วนของ บุคลากร กระบวนการ และระบบการให้บริการของหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการแก้ไขปัญหาเหล่านี้จะต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายทั้งภาครัฐและภาคเอกชนen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to explore the procedures, costs, and corresponding lead times in inland logistics operation associated with the importing and exporting of sea-borne containerized cargo with the emphasis on textile/garment products. Considering the total expenses incurred by importers and exporters and total time of all activities related to the importing and exporting of sea-borne containerized cargo, the study finds that the inland transportation charge is the highest cost component, representing about 20.7%-41.6% of total expense in the case of import and about 28.0%-35.5% of total expense in the case of export. The activities that have taken up relatively large share of total time include inland transportation, customs clearance, operation at port or at ICD, and document preparation. The importing and exporting of sea-borne containerized cargo in Thailand still encounters several inherent problems concerning personnels, established practices, and service quality as rendered by private service providers and public agencies. Any attempt to successfully solve these problems would definitely require cooperation between all relevant actors in both public and private sectors.en
dc.format.extent3181994 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมสิ่งทอen
dc.subjectสินค้าเข้าและสินค้าออกen
dc.subjectระบบขนส่งคอนเทนเนอร์en
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en
dc.subjectการขนส่งทางน้ำen
dc.titleต้นทุนโลจิสติกส์ภาคพื้นดินของสินค้าบรรจุตู้ที่ขนส่งทางทะเลen
dc.title.alternativeInland logistics costs of sea-borne containerized cargoen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSompong.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tada.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.