Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59617
Title: การศึกษาผลประโยชน์และผลกระทบของตัวจำกัดกระแสผิดพร่องแบบตัวนำยิ่งยวดในระบบ 115 กิโลโวลต์
Other Titles: A Study on Benefits and Impacts of Superconducting Fault Current Limiter in 115 kV Systems
Authors: วรเกียรติ ไกรเกียรติ
Advisors: ชาญณรงค์ บาลมงคล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Channarong.B@Chula.ac.th,Channarong.B@Chula.ac.th
Subjects: ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด
กระแสไฟฟ้าลัดวงจร
ตำแหน่งฟอลต์
Superconductors
Short circuits
Electric fault location
Issue Date: 2560
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการศึกษาผลประโยชน์และผลกระทบของการใช้ตัวจำกัดกระแสผิดพร่องแบบตัวนำยิ่งยวด (Superconducting fault current limiter : SCFCL) ในระบบ 115 kV โดยจำลองเปรียบเทียบผลระหว่างระบบที่ไม่มีการติดตั้งและติดตั้ง SCFCL ด้วยโปรแกรม DIgSILENT ซึ่งในส่วนผลประโยชน์ของการติดตั้ง SCFCL จะแสดง การลดกระแสไดนามิกส์ การลดกระแสลัดวงจรในระบบ การลดกำลังไฟฟ้าจากการลัดวงจร การลดแรงดันตกชั่วขณะและการลดกระเเสพุ่งเข้าหม้อเเปลง ในส่วนผลกระทบของการติดตั้ง SCFCL จะแสดง การเปลี่ยนแปลงเวลาการทำงานของรีเลย์ป้องกันกระแสเกิน การจ่ายกระเเสลัดวงจรเพิ่มขึ้นของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและความไม่สมดุลเมื่ออุปกรณ์ตัวนำยิ่งยวดภายใน SCFCL เสียหาย สิ่งเหล่านี้เป็นแนวทางสำหรับการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าที่มีแผนจะติดตั้งอุปกรณ์ SCFCL
Other Abstract: This thesis presents a study on benefits and impacts of applying the superconducting fault current limiter (SCFCL) in a 115 kV system, using simulation with DIgSILENT program. The studied benefits consist of the reduction in dynamic current, fault current, voltage dip and transformer inrush current. The studied impacts consist of the change in operating time of overcurrent relay, the increase in fault current from generators and the imbalance due to superconductor failure. These obtained results are a guideline for technical consideration on SCFCL application
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59617
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1359
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.1359
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5870386921.pdf7.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.