Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59728
Title: อัลกอริทึมการควบคุมโหลดโดยตรงที่คำนึงถึงความสะดวกสบายสำหรับระบบการตอบสนองด้านโหลด
Other Titles: A Direct Load Control Algorithm Concerning Comfort for Demand Response
Authors: กุศะภณ เพชรสุวรรณ
Advisors: วันเฉลิม โปรา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Wanchalerm.P@Chula.ac.th,wanchp@gmail.com
Subjects: การใช้พลังงานไฟฟ้า
Electric power consumption
Issue Date: 2560
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การควบคุมโหลดโดยตรงเป็นมาตรการหนึ่งของการตอบสนองด้านโหลดโดยทำการควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าระยะไกลผ่านโครงข่ายสื่อสาร สำหรับประเทศไทยเครื่องปรับอากาศเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เป็นเป้าหมายหลัก เนื่องจากว่ามีการใช้กำลังไฟฟ้าที่สูงมากในช่วงฤดูร้อน ในหัวข้อนี้ได้ใช้เทคนิคการจัดลำดับการเปิดปิดโหลดสำหรับศูนย์การควบคุมโหลดในการควบคุมเครื่องปรับอากาศโดยการเปิดปิดเครื่องปรับอากาศบางเครื่องซึ่งมีเป้าหมายสูงสุดคือให้ผู้ที่ถูกควบคุมยังคงรู้สึกสบายมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ในงานนี้ได้มีการใช้การโปรแกรมเชิงเส้นในการแก้ปัญหาออฟติไมเซชั่น และพัฒนาอัลกอริทึมนี้ โดยทดสอบจากกลุ่มของเครื่องปรับอากาศจำลองจำนวน 2,000 เครื่อง (12,000 บีทียู/ชม. 500 เครื่อง; 18,000 บีทียู/ชม. 500 เครื่อง; 24,000 บีทียู/ชม. 1,000 เครื่อง) ในหลายสถานการณ์ เช่น วันที่อากาศปกติ หรือวันที่อากาศร้อนจัด พบว่าอัลกอริทึมนี้สามารถควบคุมไฟฟ้าให้ไม่เกินระดับกำลังที่กำหนดไว้ได้ และสามารถลดกำลังไฟฟ้าได้ 1) 500 กิโลวัตต์ โดยที่ผู้ที่ถูกควบคุมส่วนมากยังคงรู้สึกสบาย 2) 1,000 กิโลวัตต์ โดยที่ผู้ที่ถูกควบยังรู้สึกสบายอยู่ 80-60% 3) 1,500 กิโลวัตต์ โดยที่ผู้ที่ถูกควบยังรู้สึกสบายอยู่ 50-40%
Other Abstract: Direct Load Control is one of the demand response policies. It may control remote appliances via a telecommunication network. Air conditioners are its main targets since they consume lots of power in summer. In this work, a load scheduling technique for operating at a load aggregator is proposed. It selectively turns on/off some of air conditioners. The ultimate goal is that the customers are still in the comfort zone as much as possible. The optimization problem is solved by linear programming. The developed algorithm is implemented and tested by a group of 2,000 simulated air conditioners (500 ACs 12,000 BTU/h; 500 ACs 18,000 BTU/h; 1,000 ACs 24,000 BTU/h) in many conditions for example in regular climate or in very hot days. The developed algorithm is able to control and limit the electrical power not higher than a given level. It can decrease the power consumption in a very hot day more than 1) 500 kW, while most customers are still in comfort zone; 2) 1,000 kW, while 80-60% of customers are still in comfort zone and 3) 1,500 kW, while 50-40% of customers are still in comfort zone
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59728
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1345
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.1345
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5970113021.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.