Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร-
dc.contributor.authorปิยะธิดา สายขุน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:26:27Z-
dc.date.available2018-09-14T05:26:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59907-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractเรือนพักผู้จัดการบริษัท อีสต์เอเชียติก เป็นหนึ่งในตัวอย่างของบ้านที่แสดงให้เห็นถึงจุดเปลี่ยนของการสร้าง “บ้านไม้แปรรูป” ซึ่งมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 100 ปี และถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามการใช้งานแต่ละยุคสมัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและลักษณะสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของอาคาร ด้วยวิธีการสำรวจรังวัดอาคาร การสัมภาษณ์ รวมถึงการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างและการใช้งานจากลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่สามารถสืบค้นได้ จากการศึกษาพบว่าการเปลี่ยนแปลงของอาคารแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลา คือ (1) ช่วงปี พ.ศ.2468-2478 (2) ช่วงปี พ.ศ.2479-2500 (3) ช่วงปี พ.ศ.2501-2540 และ(4) ช่วงปี พ.ศ.2541-ปัจจุบัน ส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยมากที่สุด คือ บริเวณพื้นที่ชานภายนอก ส่วนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีผลต่อพื้นที่ใช้สอยตลอดจนรูปทรงของอาคารมากที่สุด คือ พื้นที่ระเบียงโล่งชั้นบนที่มีการติดผนังหน้าต่างในยุคหลัง นอกจากนี้ จากการสืบค้นลักษณะดั้งเดิมของอาคารไปถึงช่วงปี พ.ศ.2468-2478 พบว่าลักษณะสถาปัตยกรรมในช่วงเวลาดังกล่าวมีความแตกต่างจากรูปแบบในปัจจุบันหลายประการ เช่น มีระเบียงทางเดินชั้นบนเปิดโล่ง 2 ด้าน และมีชานทั้งชั้นบนชั้นล่าง และจากการศึกษาหน้าตัดไม้ในโครงสร้างส่วนต่างๆ ทั้ง หลังคา ผนัง พื้น รวมถึงระบบการก่อสร้าง พออนุมานได้ว่าเรือนพักผู้จัดการบริษัทอีสต์เอเชียติกเป็นหนึ่งในจุดเริ่มต้นของบ้านไม้แปรรูปหลังอื่นๆ ที่เห็นได้ในปัจจุบัน ด้วยสภาพป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ และทำให้มีการใช้หน้าตัดไม้ที่มีขนาดใหญ่กว่าที่ใช้ทั่วไปในปัจจุบัน-
dc.description.abstractalternativeEast Asiatic Manager’s House which was built over 100 years ago, is one of the examples that represent the turning point of lumber houses in Thailand. Its function and form have been changed in every period. The objective of this research is to study the morphology of East Asiatic Manager’s house and to study the original appearance and space of this architecture by measures surveying, interviewing, studying related documents, and analyzing the structure and usability. According to the research, the changes of this architecture and be divided into 4 periods: (1) 1925-1935 A.D, (2) 1936- 1957, (3) 1958-1997, and (4) 1998-present. During these periods of time, the most effective changed parts are the terrace outside the house and the upper verandah around the house. The another result of the research is that the most previous appearance of the architecture can be confirmed that it existed in 1925-1935 A.D and had some differences from the current existing, such as, the verandah and the terraces. Moreover, from the result of the study of wood sections in the structure and the construction, East Asiatic Manager’s House can be deduced that it is one of the original of present lumber houses. However, in that period, the forestry abundance caused the use of the larger wood size comparing to the common use in nowadays.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1514-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอาคารไม้ -- ไทย -- แพร่-
dc.subjectBuilding, Wooden -- Thailand -- Phare-
dc.titleสัณฐานการเปลี่ยนแปลงเรือนพักผู้จัดการบริษัทอีสต์เอเชียติก จังหวัดแพร่-
dc.title.alternativeMORPHOLOGICAL STUDY ON EAST ASIATIC MANAGER’S HOUSE, PHRAE PROVINCE-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorTerdsak.T@Chula.ac.th,terdsak@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1514-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6073358425.pdf9.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.