Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60241
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม-
dc.contributor.authorณัฐพล วัฒนะวิรุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T06:12:44Z-
dc.date.available2018-09-14T06:12:44Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60241-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้การสื่อสารการตลาด ทัศนคติ และความตั้งใจใช้บริการของผู้บริโภค โดยรูปแบบของการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อผู้ให้บริการเรียกรถโดยสารผ่านแอปพลิเคชัน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย จำนวน 400 ชุด โดยจำแนกตามข้อมูลพื้นฐานได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ อาชีพ โดยสถิติที่ใช้ทดสอบคือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน, t-test, f-test และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีการเปิดรับสื่อจากทางเฟสบุ๊ก 2) การรับรู้การสื่อสารการตลาด มีการรับรู้บริการ GrabTaxi และ Uber X มากที่สุด 3) มีทัศนคติต่อการเห็นค่าโดยสารก่อนการเรียกรถมากที่สุด 4) มีความตั้งใจใช้บริการอยู่ในระดับสูง 5) ปัจจัยด้านประชากรมีการรับรู้การสื่อสารการตลาดไม่แตกต่างกัน 6) ปัจจัยด้านประชากรมีทัศนคติต่อผู้ให้บริการไม่แตกต่างกัน 7) ปัจจัยด้านประชากรมีความตั้งใจใช้บริการไม่แตกต่างกัน 8) การรับรู้การสื่อสารการตลาดมีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติ 9) ทัศนคติมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study media exposure, perception, attitude, and behavioral intention. The quantitative is conduced to explore towards ride-hailing application. The researcher collected data from 400 people who are generation Y. It was classified the data by gender, age, status, education, average income and occupation. The statistical techniques used for analyzing the data were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test and Pearson’s correlation coefficient. The result shows thats 1) Most of customers have exposure about facebook. 2) Customers have high perception about Grab Taxi and uber X. 3) Customers have high attitude about seeing the fare before contacted the driver. 4) Customers have high intention for using the service. 5) There are no different factors in population that affects perception. 6) There are no different factors in population that affects attitude. 7) There are no different factors in population that affects behavioral intention. 8) The high of frequency of perception that affect to positive attitudes. 9) The positive attitudes that affect to behavioral intention.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.905-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้บริการเรียกรถโดยสารผ่านแอปพลิเคชั่นของกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย-
dc.title.alternativeGENERATION Y CONSUMERS MEDIA EXPOSURE PERCEPTIONS OF MARKETING COMMUNICATION ATTITUDE AND BEHAVIOR TOWARDS RIDE-HAILING APPLICATION-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSuthiluck.V@Chula.ac.th,iamnuan@hotmail.com,iamnuan@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.905-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5984658028.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.