Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60547
Title: การฟื้นฟูแนวปะการังในธรรมชาติโดยใช้ตัวอ่อนปะการังที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์ในระบบแบบฟัก-2 : ปัจจัยทางทางชีวภาพที่มีผลต่อการอนุบาลตัวอ่อนปะการังระยะหลังการปฏิสนธิและระยะหลังการลงเกาะบนพื้นผิว : รายงานวิจัย
Other Titles: Coral restoration by laboratory seeding-1 : influence of physical factors on breeding larvae after fertilazation and settlement stages
Authors: วรณพ วิยกาญจน์
สุชนา ชวนิชย์
Email: Voranop.V@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: ปะการัง
การฟื้นฟูแนวปะการัง
Corals
Coral reef restoration
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ทำการศึกษาปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ อาหาร และผู้ล่า ที่ส่งผลต่อพัฒนาการ และ/หรือ อัตรารอดของตัวอ่อนระยะหลังการลงเกาะบนพื้นผิวของปะการังเขากวาง Acropora millepora และปะการังดอกกะหล่ำ Pocillopora damicornis ที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์ในระบบเพาะฟัก ผลการศึกษาพบว่า ปะการังกินไรน้ำเค็ม Artemia salina ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการให้อาหารวันละครั้ง (ตอนกลางวัน หรือตอนกลางคืน) พบว่าปะการังทั้ง 2 ชนิด กินไรน้ำเค็มในช่วงเวลากลางวัน (เฉลี่ย 1.9-2.2 ตัว/โพลิป) มากกว่าเวลากลางคืน (เฉลี่ย 1.5-1.8 ตัว/โพลิป) นอกจากนั้น ผลการศึกษาการย่อยไรน้ำเค็มซึ่งให้เป็นอาหารพบว่า ปะการังทั้งสองชนิดใช้เวลาในการย่อยประมาณ 2.0-2.5 ชั่วโมง สำหรับการป้องกันผู้ล่าจากภายนอกโดยเฉพาะปลานั้น การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปกคลุมมีค่าลดลงในชุดการทดลองที่ปราศจากการป้องกัน
Other Abstract: The influence of biological factors such as food and predator on juvenile corals Acropora millepora and Pocillopora damicornis from sexual propagation technique were investigated. The results showed that corals fed on Artemia salina during the day and at night. However, when rorals were fed twice, they consumed more A. salina during the day (average 1.9-2.2 individuals/polyp) compared to at night (average 1.5-1.8 individuals/polyp). In addition, the Artemia was digested by both coral species within 2.0-2.5 hours after feeding. Moreover, for rearing coral in natural water, the coral that had no protection (non-cage experiment) had lower percent coverage comparing to the treatment groups with cage.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60547
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Voranop V_Res_2556.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.