Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60740
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmornpun Sereemaspun-
dc.contributor.advisorColonel Jariyanart Gaywee-
dc.contributor.authorNutchanart Sae Liang-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2018-12-03T02:33:25Z-
dc.date.available2018-12-03T02:33:25Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60740-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015-
dc.description.abstractScrub typhus, leptospirosis, and murine typhus are life-threatening zoonosis worldwide. The causative agent of these diseases is Orientia tsutsugamushi, Leptospira interrogans, and Rickettsia typhi, respectively. Transmission of these bacteria occurs through vector biting or directly bacteria contraction. Clinical features of these diseases are as acute undifferentiated fever such as high fever, headache, muscular pain, and anorexia, resulting to delay diagnosis and mortality. Although a serological laboratory test is gold standard for scrub typhus, leptospirosis, and murine typhus diagnosis, it has own limitation because inadequate antibody in the early phase. In this study, we aimed to develop the multiplex PCR on the causative agents of scrub typhus, leptospirosis, and murine typhus detection and evaluate the performance of multiplex PCR compared to the serological tests. In the experiment, we optimized the appropriate multiplex PCR for detection of tested bacteria. Subsequently, we evaluated the specificity, sensitivity, and performance of the developed multiplex PCR. Our results showed only positive detectable PCR product from tested bacteria. The sensitivity and specificity of the developed multiplex PCR was 100% and 71.67% compared to the serological tests. And also, the assay found the co-infection of scrub typhus and leptospirosis. The designed multiplex PCR assay is sensitive, specific and rapid. The assay can be used for identifying the causative agent in the early phase of these diseases.-
dc.description.abstractalternativeโรคสครับไทฟัส โรคเลปโตสไปโรซิส และโรคมิวรีนไทฟัส เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตที่พบกระจายทั่วโลก โดยเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียโอเรียนเทีย ซูซูกามูชิ เลปโตสไปร่า อินเทอร์โรแกนส์ และริคเค็ทเซีย ไทฟี ผ่านทางพาหะของโรคหรือจากการสัมผัสเชื้อโดยตรง ซึ่งลักษณะทางคลินิกเบื้องต้นของโรคสครับไทฟัส โรคเลปโตสไปโรซิส และโรคมิวรีนไทฟัส จะมีลักษณะอาการคล้ายกับกลุ่มโรคไข้ไม่ทราบสาเหตุ คือ มีไข้สูง ปวดหัว ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และเบื่ออาหาร ซึ่งทำให้การวินิจฉัยนั้นเกิดความล่าช้าและอาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงขึ้นจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ถึงแม้ว่าปัจจุบันวิธีทางภูมิคุ้มกันวิทยาจะเป็นวิธีมาตรฐานที่ใช้ในการวินิจฉัยโรค แต่อย่างไรก็ตามวิธีนี้ก็ยังมีข้อจำกัด คือ ในระยะเริ่มแรกของโรคจะมีแอนติบอดีไม่เพียงพอต่อการวินิจฉัย ดังนั้นวิธีการวินิจฉัยที่เร็วและแม่นยำจึงมีความจำเป็น ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์สำหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคสครับไทฟัส โรคเลปโตสไปโรซิส และโรคมิวรีนไทฟัสและประเมินประสิทธิภาพวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์เทียบกับวิธีทางภูมิคุ้มกันวิทยา โดยทำการหาสภาวะที่เหมาะสมของวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์สำหรับตรวจหาเชื้อก่อโรคสครับไทฟัส โรคเลปโตสไปโรซิส และโรคมิวรีนไทฟัส และทดสอบความจำเพาะ ปริมาณเชื้อที่สามารถตรวจพบเชื้อ และประสิทธิภาพของวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ ผลการทดลองพบว่าวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ที่พัฒนาชึ้น สามารถตรวจหาเชื้อก่อโรคทั้งสามเชื้อได้อย่างจำเพาะโดยไม่เกิดปฏิกิริยาข้ามกับเชื้อก่อโรคชนิดอื่น สำหรับประสิทธิภาพของวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์พบว่า ความไวและความจำเพาะของวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์เท่ากับ 100% และ 71.67% เทียบกับวิธีทางภูมิคุ้มกันวิทยา และวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์สามารถตรวจพบโรคติดเชื้อร่วมกันระหว่างโรคสครับไทฟัสและโรคเลปโตสไปโรซิสอีกด้วย ดังนั้น วิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ที่พัฒนาขึ้น เป็นวิธีที่มีความไวและความจำเพาะ อีกทั้งยังสามารถตรวจหาเชื้อก่อโรคได้ตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกของโรค-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.281-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectLeptospirosis-
dc.subjectTsutsugamushi disease-
dc.subjectVirus diseases -- Diagnosis-
dc.subjectเลปโตสไปโรซิส-
dc.subjectไข้ไรหนู-
dc.subjectโรคเกิดจากไวรัส -- การวินิจฉัย-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.titleDevelopment of multiplex PCR for diagnosis of scrub typhus, rickettsial disease and leptospirosis-
dc.title.alternativeการพัฒนาวิธี Multiplex PCR  สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคสครับไทฟัส โรคติดเชื้อริคเค็ทเซีย และโรคเลปโตสไปโรสซิส-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineMedical Science-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisorAmornpun.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.281-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5674039730.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.