Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61049
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorอรุณฤทธิ์ ตระการไพบูลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-07T07:52:01Z-
dc.date.available2018-12-07T07:52:01Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61049-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการตั้งราคาค่าไฟฟ้าเรียกเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทเรียกเก็บตามปริมาณการใช้ไฟฟ้ายังไม่สะท้อนให้เห็นถึงต้นทุนส่วนการใช้กำลังไฟฟ้าที่ทำให้เกิดความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด(PEAK) ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญเพราะการเกิด PEAK มากๆจนมีแนวโน้มที่จะสูงกว่ากำลังการผลิตที่มีอยู่ทำให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตต้องทำการสำรองกำลังการผลิตไฟฟ้าโดยการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ซึ่งใช้เงินลงทุนสูงและใช้ระยะเวลานานในการก่อสร้างหรือการซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ ดังนั้นเพื่อให้การเรียกเก็บค่าไฟฟ้าสะท้อนให้เห็นถึงต้นทุนการทำให้เกิด PEAK แล้วจึงทำการพิจารณาแบ่งประเภทต้นทุนออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ผู้ใช้ไฟฟ้ารับภาระเท่ากันและส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำให้เกิด PEAK ซึ่งต้นทุนส่วนนี้จะต้องทำการปันส่วนตามเกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้กำหนดขึ้นมา โดยเกณฑ์ที่คัดเลือกขึ้นมาแบ่งเป็น 2 มุมมองแบ่งย่อยได้ 4 เกณฑ์ มุมมองแรกคือการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าอัตราปกติมี 1 เกณฑ์คือปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวมตลอดทั้งปี ส่วนมุมมองที่สองคือการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าแบบ TOU มี 3 เกณฑ์ที่เกี่ยวข้องคือ ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด,สัดส่วนการเกิดความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดรวม,ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าเทียบกับมติ กกพ. จากนั้นนำเกณฑ์ที่ได้มาทำการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงโดยเริ่มจากการให้ค่าน้ำหนักแต่ละเกณฑ์เท่ากัน 1:1:1:1 เพื่อดูแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงของแต่ละเกณฑ์ว่าเกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทใดบ้าง จากนั้นนำมาวัดผลโดยพิจารณาว่าเกณฑ์ที่ผู้ใช้ไฟฟ้าได้รับผลกระทบน้อยที่สุดคืออัตราส่วนที่เกี่ยวข้องกับ PEAK ซึ่งถ้าเพิ่มค่าน้ำหนักให้กับเกณฑ์นี้มากๆก็จะช่วยให้ผุ้ใช้ไฟฟ้าได้รับผลกระทบน้อยลงen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to setting up electricity prices for all users which has been calculated from progressive rate. This method couldn't reflect the real cost of maximum power demand or Peak which is a very important factor because it has caused a massive of peak more than a production of electricity by EGAT. This issue has made EGAT finds a resolution to reserve productions of electricity by investing a new electrical factory which has to pay big money on it and take time to build them up or purchase for the international electricity sources. For taking advantage of electricity pricing due to the cost which has caused a massive of peak. This thesis will support the idea of separating cost for two parts. First, users have to pay for equal cost. Second, users have to pay from allocating a criteria of electricity using. Following the criteria chosen in this thesis, these criteria can be summarized in two principles.The first principle is imposing the average electricity prices. The second principle is imposing electricity prices by dividing Time of Use (TOU). Next step is taking all parts to analyze the sensitivity with all changes. Beginning with the equal weight for all criteria by 1:1:1:1. Then comparing with the achieve object, that is the ability to paying electricity prices for each users. From recording found that the PEAK criteria has reduce impact from tariff of user by increase weight of it.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2190-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectค่าไฟฟ้าen_US
dc.subjectElectric utilities -- Ratesen_US
dc.titleการศึกษาเกณฑ์ในการปันส่วนต้นทุนค่าไฟฟ้าแยกตามประเภทผู้ใช้ไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeThe study of the criteria for electricity cost allocation by user categoriesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorcert@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2190-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arunrit Trakanpaiboon.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.