Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์-
dc.contributor.authorอัครยา ศีลสังวรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:34:26Z-
dc.date.available2019-02-26T13:34:26Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61359-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ของนักกีฬาว่ายน้ำท่า ฟรอนท์ ครอลที่ระยะต่างๆในระยะทาง 200 เมตร วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาว่ายน้ำท่าฟรอนท์ ครอลทีมชาติไทย เพศชายที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 29 ณ ประเทศมาเลเซีย ปี 2560 จำนวน 7 คน ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ โดยใช้ชุดกล้องวิเคราะห์การเคลื่อนไหวบนบกและใต้น้ำรวม 16 ตัวโดยเก็บข้อมูลในอุโมงค์น้ำ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างทุกคนใส่ชุดว่ายน้ำติดมาร์คเกอร์ และว่ายน้ำท่าฟรอนท์ ครอลระยะ 200 เมตร ในความเร็วที่ 75%ของความเร็วเฉลี่ยที่ว่ายในสระว่ายน้ำ มุมและความเร็วเชิงเส้นของข้อต่อของรยางค์ส่วนบนถูกนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างที่ระยะต่างๆ 5 ช่วง คือ 15-35 เมตร 65-85 เมตร 115-135 เมตร 65-85 เมตรและ 196-200 เมตร ด้วยการทดสอบทางสถิติวิธี One-way ANOVA ที่ระดับ .05   ผลการวิจัย ค่าเฉลี่ยของมุมข้อต่อและความเร็วของข้อต่อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบทั้งระยะ 5 ช่วง ผู้วิจัยจำลองวิถีมุมของข้อต่อและความเร็วของข้อต่อด้วยสมการพยากรณ์จากสมการการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion ซึ่งสามารถพยากรณ์ค่าเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ได้ถูกต้องมากกว่า 80% จากสมการพยากรณ์แสดงให้เห็นว่าเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ให้ครบรอบเปลี่ยนไปเมื่อระยะว่ายเปลี่ยนแปลงไป สรุปผลการวิจัย การว่ายที่ระยะทางต่างๆส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของมุมและความเร็วของข้อต่อช่วงบน การเปลี่ยนแปลงของมุมการเคลื่อนไหวของแต่ละข้อต่อเทียบกับระยะว่ายที่เพิ่มขึ้นพบว่ารูปแบบการเคลื่อนที่ของข้อต่อเหมือนเดิมแต่เวลาในการเคลื่อนที่ของข้อต่อจะแตกต่างกันไป จากการวิเคราะห์ด้วยสมการพยากรณ์แบบ Simple Harmonic Motion พบว่าเมื่อระยะทางว่ายน้ำเพิ่มขึ้น เวลาการเคลื่อนที่ของข้อต่อในแต่ละสโตรกมากขึ้น แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างมีความล้าที่เพิ่มขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to compare the changes in biomechanical upper extremities variables of 200-meter front crawl swimming in Thai nation swimmers. Seven male front crawl Thai Nation swimmers who participated in the 29th Sea Game in Malaysia were recruited by purposive sampling.  Biomechanical variables were analyzed using 16 hi-cameras installed on land and in water in the swimming flume at Faculty of Sports Science, Chulalongkorn University. All participants wore a marker-embedded swimming suit to swim in a time-equivalent duration at 75% of front crawl speed measured in a swimming pool. Joint angles and velocities were measured in 5 distances, which were 15-35 m., 65-85 m., 115-135 m., 165-185 m., and 196-200 m. The joint angles and velocities were tested with a One-way ANOVA at .05 level of significance. The results showed that the average joint angles and joint velocities were statistically significant different among 5 distances.  The trajectories of joint angles and joint velocities were modelled using a Simple Harmonic Equation. The predicted trajectories of joint angles and velocities were 80% accurate. The equation showed that the different distances resulted in different cycle times of joint angles and velocities. In conclusion, swimming in different laps resulted in different average joint angles and velocities of the upper limb. The movement pattern of upper limb joints was similar among different laps, but the duration to complete one cycle of each joint increased as the swimming distance increased.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1132-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการว่ายน้ำ -- ท่าฟรีสไตล์-
dc.subjectการบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ-
dc.subjectสรีรวิทยาไฟฟ้า-
dc.subjectความล้า-
dc.subjectSwimming -- Crawl stroke-
dc.subjectElectromyography-
dc.subjectElectrophysiology-
dc.subjectFatigue-
dc.titleการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ของการว่ายน้ำ 200 เมตร ท่าฟรอนท์ ครอลในรยางค์ส่วนบนของนักกีฬาว่ายน้ำทีมชาติไทย-
dc.title.alternativeChanges in biomechanical variables of 200 metres front crawl on lower limb in Thai national swimmers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordกีฬาว่ายน้ำ-
dc.subject.keywordท่าฟรอนท์ ครอล-
dc.subject.keywordตัวแปรทางชีวกลศาสตร์-
dc.subject.keywordรยางค์ส่วนบน-
dc.subject.keywordSwimming-
dc.subject.keywordFront crawl-
dc.subject.keywordBiomechanical variable-
dc.subject.keywordHealth Professions-
dc.subject.keywordUpper limb-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1132-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5878338239.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.