Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61363
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคนางค์ ศรีหิรัญ-
dc.contributor.authorวชิราวุธ โพธิ์เหล็ก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:34:28Z-
dc.date.available2019-02-26T13:34:28Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61363-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.description.abstractบทคัดย่อ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการฝึกการเคลื่อนที่แบบเฉพาะเจาะจงของกีฬาบาสเกตบอลที่มีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไวในนักกีฬาบาสเกตบอลชายระดับเยาวชน วิธีการดำเนินงานวิจัย นักกีฬาบาสเกตบอลชายระดับเยาวชน เพศชาย จังหวัดอุดรธานี อายุ 15-18 ปี จำนวน 26 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 13 คน ได้แก่ กลุ่มควบคุมได้รับการฝึกการเคลื่อนที่แบบดั้งเดิม และกลุ่มทดลองได้รับการฝึกการเคลื่อนที่แบบเฉพาะเจาะจง ทั้งสองกลุ่มทำการฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ก่อนการฝึกและภายหลังการฝึก 6 สัปดาห์ ก่อนและหลังการฝึกทดสอบตัวแปรทางสรีรวิทยา ความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็ว นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างก่อนและภายหลังการฝึกด้วยการทดสอบค่า ทีแบบรายคู่ และทดสอบค่า ทีอิสระ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัย กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความคล่องแคล่วว่องไวแบบทีเทส เวลาในการทดสอบความเร็วระยะ 5 เมตร และความสามารถในเปลี่ยนทิศทางดีขึ้นและแตกต่างจากกลุ่มควบคุมภายหลังการฝึก 6 สัปดาห์ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.5 ความเร็วระยะ 10 และ 20 เมตร ไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มภายหลังการฝึก 6 สัปดาห์ ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.5 สรุปผลการวิจัย การฝึกการเคลื่อนที่แบบเฉพาะเจาะจงในกีฬาบาสเกตบอลเป็นการฝึกเสริมที่ช่วยพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วระยะ 5 เมตร ให้แก่นักกีฬาบาสเกตบอลชายระดับเยาวชนได้เป็นอย่างดี-
dc.description.abstractalternativeAbstract Objective : To study the effects of specific movement training on agility in young male basketball players. Methods : Twenty-six male basketball players from Udonthani which aged between 15-18 years were selected. They were divided into two groups: the experimental group (n = 13) including specific movement training program and control group (n = 13) including traditional movement training program. Both groups were trained for 3 days per week totally 6 weeks. The measurements of general physical characteristics, agility, speed were testing before and after training. The variable was analyzed using pair sample t-test and independent sample t-test. A significance level of 0.05 was considered the statistical significance. Results : The mean time values of agility, speed 5 meters in experimental group were lower than in control group and was significant (p < .05). The mean time value of speed 10, 20 meters were no significant (p > .05). Conclusion : The specific movement training program had positive effects on agility, speed 5 meters. This indicated that the specific movement training program could be used as a specific basketball movement training.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1119-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectความสามารถทางกลไก-
dc.subjectบาสเกตบอล-
dc.subjectความเร็ว-
dc.subjectMotor ability-
dc.subjectBasketball-
dc.subjectSpeed-
dc.titleผลของการฝึกการเคลื่อนที่แบบเฉพาะเจาะจงที่มีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไวในนักกีฬาบาสเกตบอลชายระดับเยาวชน-
dc.title.alternativeEffect of specific movement training on agility in young male basketball players-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordความคล่องแคล่วว่องไว-
dc.subject.keywordกีฬาบาสเกตบอล-
dc.subject.keywordความเร็ว-
dc.subject.keywordการเคลื่อนที่แบบเฉพาะเจาะจง-
dc.subject.keywordAgility-
dc.subject.keywordBasketball-
dc.subject.keywordSpecific movement-
dc.subject.keywordSpeed-
dc.subject.keywordHealth Professions-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1119-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5978324539.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.