Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปานตา ใช้เทียมวงศ์-
dc.contributor.authorศรีสุดา ศิริสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-05-30T08:59:36Z-
dc.date.available2019-05-30T08:59:36Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62035-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจ และเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและผู้ปกครอง ต่อการให้การบ้านนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนต่างสังกัด ในกรุงเทพมหานคร วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการให้การบ้านนักเรียน และนำมาปรับปรุงเป็นแบบสอบถาม โดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่าคำถามปลายปิด และคำถามปลายเปิด นำไปใช้กับโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างประชากร 34 โรง ประกอบด้วยครู 204 คน และผู้ปกครอง 204 คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลของการวิจัย ครูและผู้ปกครองส่วนมากมีความคิดเห็นตรงกันว่า การบ้านเป็นสิ่งจำเป็นที่ครูควรให้อย่างสม่ำเสมอขึ้นอยู่กับบทเรียน เพราะการบ้านเป็นการฝึกฝนทบทวนบทเรียน และฝึกความรับผิดชอบของนักเรียน นอกจากนั้นทำให้ผู้ปกครองมีโอกาสใกล้ชิด และทราบพัฒนาการทางการเรียนของนักเรียน ครูและผู้ปกครองสามารถร่วมมือกันแก้ไขข้อบกพร่องของนักเรียนได้ สำหรับการให้การบ้านนั้น ครูควรคำนึงถึงเวลา สภาพแวดล้อมและความสามารถของนักเรียนด้วยen_US
dc.description.abstractalternativePurposes The purposes of the research were to survey and compare the opinions between the teachers and the guardians concerning students homework assignments in Pratomsuksa 3 and 4 different departments in Bangkok Metropolis. Procedure The data and information concerning students homework assignments were gathered and developed into questionnaires. They were constructed in the form of rating scale, closed and open end items respectively. The data were collected from 34 schools, 204 teachers and 204 guardians and were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t – test and one – way analysis of variance. Findings The majority of teachers and guardians was of the same opinion that students homework assignments were necessary and should always be given whenever needed. They were exercises both for students revision of lessons as well as their work habit responsibility. The guardians would be able to help and know their children’s learning development. Teachers and guardians would be able to cooperate in helping children in correcting their errors. As for the teachers, the problems of time consuming, the environment and students ability should also be considered when giving homework assignments.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1979.13-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบ้านen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นประถมen_US
dc.subjectครู -- ทัศนคติ-
dc.titleความคิดเห็นของครูและผู้ปกครองต่อการให้การบ้านนักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeOpinions of teachers and guardians concerning students homework assignments in prathomsuksa 3 and 4en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1979.13-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisuda_Si_front.pdf322.69 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_ch1.pdf287.05 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_ch2.pdf303.07 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_ch3.pdf251.39 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_ch4.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_ch5.pdf298.04 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_Si_back.pdf623.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.