Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงรัตน์ บุญญานุรักษ์-
dc.contributor.authorศิริพร สิงหจินดาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-31T07:04:10Z-
dc.date.available2019-07-31T07:04:10Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745838411-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62551-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความรู้ เจตคติ และการปฏบัติในการดูแลบุตรในมารดาที่ได้รับการสอนโดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร และเปรียบเทียบความรู้ เจคติ และการปฏิบัติในการดูแลบุตรของมารดาที่ได้รับการสอนโดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตรกับการสอนปกติ รวมทั้งจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาของการมีส่วนร่วมในการให้การดูแลบุตร กลุ่มตัวอย่างคือ มารดา อายุระหว่าง 18-30 ปี ที่มีบุตรป่วยด้วยโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ ที่มีอายุระหว่าง 1 เดือน – 1 ปี รับไว้รักษาในหอผู้ป่วยโรคติดเชื้อโรงพยาบาลเด็ก จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการสอน แบบทดสอบความรู้ แบบทดสอบเจตคติ แบบสอบถามการปฏิบัติในการดูแลบุตร และแบบสังเกตการปฏิบัติในการดูแลบุตร เครื่องมือวิจัยได้รับการทดสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้วจึงนำไปใช้เพื่อการรวบรวมข้อมูลต่อไป ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติในการดูแลบุตรของมารดา ที่ได้รับการสอนโดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร ภายหลังการสอนสูงกว่าก่อนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของมารดาในการดูแลบุตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติในการดูแลบุตรของมารดา ที่ได้รับการสอนโดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร ภายหลังการสอนสูงกว่ามารดาที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 3. ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติในการดูแลบุตรของมารดาที่ได้รับการสอน โดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตร จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษาและระยะเวลาในกาให้การดูแลบุตรไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study knowledge, attitude and practice of mothers taught by having mother participating in caring their hospitalized child and to compare knowledge, attitude and caring the hospitalized child of mothers who were taught by conventional health teaching method and by structured teaching module developed by the investigator. The comparisons have been taken by using age groups, educational levels and mothers’ participating time. The randomized sample consisted of 40 mothers aged between 18 – 30 years old whose children were 1 month – 1 year old and admitted in the children hospital due to respiratory tract infection. The instruments developed by the investigator were lesson plan, the test for child care knowledge, child care attitude questionnaire and child care practice observation checklist. All instruments have been tested for content validity and reliability and then used them for data collection. The major findings were as follows. 1. The knowledge, attitude and practices of mothers in experimental group, the mean score after being taught by the investigator was significant higher at .01 level than the score prior to attending the structured teaching. 2. The knowledge, attitude and practices of mothers who were taught by the way of participating, were significant higher at .01 level than those who were taught by conventional health teaching method. 3. There were no statistically significant differences at .05 level of knowledge, attitude and practices of mothers after being taught by the way of mothers’ participation as classified by age groups, educational levels and mothers’ participating time.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการพยาบาลครอบครัว-
dc.subjectเด็ก -- การดูแล-
dc.subjectมารดา-
dc.subjectทางเดินหายใจ -- โรค-
dc.subjectFamily nursing-
dc.subjectChild care-
dc.subjectMothers-
dc.subjectRespiratory organs -- Diseases-
dc.titleผลของการสอนโดยให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลบุตรป่วย ที่รับไว้ในโรงพยาบาล ต่อความรู้ เจตคติ และการดูแลบุตร-
dc.title.alternativeEffecfs of teaching by having mother participating in caring their hospitalized child on mothers' knowledge, attitude, and child care-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาล-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriporn_sin_front_p.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_ch1_p.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_ch2_p.pdf18.8 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_ch3_p.pdf6.02 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_ch4_p.pdf6.65 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_ch5_p.pdf6.59 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_sin_back_p.pdf23.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.