Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประแสง มงคลศิริ-
dc.contributor.authorศิริมา ปัญญาเมธีกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-31T08:54:24Z-
dc.date.available2019-07-31T08:54:24Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746314351-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62559-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการกำจัดโคลิฟาจออกจากน้ำเมมเบรนระบบอุลตราฟิลเตรชันชนิดเส้นใยกลวง ปัจจัยที่ทำการศึกษา คือ ขนาดช่องว่างของเมมเบรน อัตรากรองและการล้างย้อน ขนาดช่องว่างของเมมเบรนมี 2 ขนาด คือ 0.1 และ 0.03 ไมครอน และเปลี่ยนอัตรากรองน้ำต่างๆ กันดังนี้ คือ 0.2 ลิตร/นาที 0.4 ลิตร/นาที 0.6 ลิตร/นาที 0.8 ลิตร/นาที 1.0 ลิตร/นาที และ 1.5 ลิตร/นาที ตามลำดับ ตัวอย่างน้ำที่ใช้มี 3 ชนิด คือ น้ำประปาเติมโคลิฟาจ น้ำประปาเติมความขุ่นสังเคราะห์ และน้ำประปาเติมโคลิฟาจผสมความขุ่นสังเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ขนาดช่องว่างของเมมเบรนมีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดโคลิฟาจ โดยการใช้เมมเบรนขนาด 0.1 ไมครอน ประสิทธิภาพการจำกัดโคลิฟาจอยู่ระหว่าง 99.99% - 99.9999% (4-6 ล็อก) ในขณะที่การกรองโดยใช้เมมเบรนขนาด 0.03 ไมครอน จะตรวจไม่พบโคลิฟาจในน้ำกรองประสิทธิภาพการกำจัดโคลิฟาจอยู่ระหว่าง 99.9999% - 99.99999% (6-7 ล็อก)-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the efficiency of coliphage removal from water by hollow-fiber ultrafiltration membrane. The effect of pore size, filtrate rate, backwashing was investigated. The membrane pore size applied in this study were 0.1 and 0.03 micron. The filtration rate were 0.2, 0.4, 0.6, 0.8, 1.0, and 1.5 LPM. respectively. There were 3 groups of water samples: tap water with coliphage, tap water with synthetic turbidity, and tap water with coliphage and synthetic turbidity. It was revealed that coliphage removal efficiency was dependent of change in pore size. The coliphage removal efficiency of 0.1 micron membrane was between 99.99% - 99.9999% (4-6 log). Whereas the coliphage concentration of 0.03 micron membrane filtrate could not be detected and the coliphage removal efficiency was between 99.9999% - 99.99999% (6-7 log).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการออสโมซิสผันกลับ-
dc.subjectไวรัสทำลายแบคทีเรีย-
dc.subjectSewage -- Purification -- Reverse osmosis process-
dc.subjectBacteriophages-
dc.titleประสิทธิภาพในการกำจัดโคลิฟาจโดยกระบวนการกรองด้วยเมมเบรน-
dc.title.alternativeColiphage removal efficiency by membrane filtration process-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirima_pa_front_p.pdf4.06 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_ch1_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_ch2_p.pdf7.07 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_ch3_p.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_ch4_p.pdf8.24 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_ch5_p.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_pa_back_p.pdf12.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.