Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62819
Title: การปลอมเอกสาร
Other Titles: Documentary Forgery
Authors: สุกิจ เชื้ออินทร์
Advisors: วีระพงษ์ บุญโญภาส
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: การปลอมแปลง
ความผิดฐานฉ้อโกง
ความผิดต่อทรัพย์
Forgery
Fraud
Offenses against property
Issue Date: 2536
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ความผิดปลอมเอกสารเป็นความผิดที่กฎหมายบัญญัติขึ้น เพื่อให้ความคุ้มครองต่อความเชื่อถือและความมั่นคงของเอกสารในการใช้เป็นหลักฐาน แต่ขอบเขตการกระทำผิดปลอมเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญาฉบับปัจจุบัน ยังไม่ครอบคุลมถึงการกระทำผิดในบางลักษณะ ทั้งนี้เนื่องมากจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดปัญหาข้อขัดข้องต่อการบังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เขียนจึงได้เสนอแนะให้ ปรับปรุงการจัดหมวดหมู่ตลอดจนบทบัญญัติของกฎหมายปลอมเอกสาร ให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อเสนอที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ซึ่งมีการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องจักรกลอื่นเข้ามาใช้ในการทำงานแทนคนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเสนอให้ขยายขอ[บ]เขตการทำเอกสารเท็จซึ่งเป็นการปลอมเอกสารประเภทหนึ่ง ให้ครอบคลุมถึงเอกสารเท็จที่ทำขึ้นโดยเอกชนอื่นนอกเหนือจากเจ้าพนักงานหรือผู้มีวิชาชีพซึ่งประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติให้เป็นความผิดอยู่แล้ว นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินคดีความผิปลอมเอกสารให้มีความถูกต้องเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
Other Abstract: Protection on confidential and stability of documents as evidence are the purpose of legal providing on documentary forgery offense. However, the scope of documentary forgery does not extend to some kind of objects of committing crime such as objects concerning on high technology and economic which are mainly obstacle in present law enforcement. So the researcher suggests in this thesis to revise some provisions of documentary forgery on extending the scope of objects of committing crime to computers and other high technology machines to be a kind of documentary forgery. Moreover, the suggestion is covered to false documents of private making such as recommendation in professionals as a documentary forgery. Nevertheless, the proceeding on documentary forgery is also suggested to be revised.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62819
ISBN: 9745824674
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukit_ch_front_p.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_ch1_p.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_ch2_p.pdf25.96 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_ch3_p.pdf38.73 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_ch4_p.pdf23.85 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_ch5_p.pdf10.98 MBAdobe PDFView/Open
Sukit_ch_back_p.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.