Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพร โทณานนท์-
dc.contributor.authorสกลสุภา ดำดิบ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T04:46:55Z-
dc.date.available2019-09-14T04:46:55Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ศึกษาการนำเปลือกข้าวโพดมาใช้เป็นวัสดุคาร์บอนตั้งต้นในการสังเคราะห์เป็นตัวดูดซับไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กเพื่อใช้ในการกำจัดสารละลายพาราควอต ออกจากน้ำปนเปื้อน ไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กถูกสังเคราะห์โดยนำสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตความเข้มข้น 0.10 M มาตรึงรูปบนเปลือกข้าวโพด และนำมาผ่านกระบวนการคาร์บอนไนเซชัน โดยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์ได้จะถูกทดสอบคุณลักษณะด้วยวิธีต่างๆ เช่น การดูดซับและการคายซับไนโตรเจน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด การวิเคราะห์ทางความร้อน เอกซ์เรยดิฟแฟรกชัน และไวเบรทติ้งแซมเปิลแมกนีโตมิเตอร์ เปลือกข้าวโพดที่ถูกตรึงรูปด้วยสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตแสดงคุณสมบัติทางแม่เหล็กที่ดีเยี่ยมทำให้สามารถแยกออกจากสารละลายตัวกลางได้ง่าย การมีอยู่ของสารละลายเฟอร์ริก (III) ไนเตรตสนับสนุนการเกิดรูพรุนไมโครพอร์ (Vmeso = 0.30 cm3/g) มีพื้นที่ผิวจำเพาะที่มีค่าสูง (275 m2/g) ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการดูดซับมีค่าสูงสุดเท่ากับ 34.22 mg/g และมีร้อยละการกำจัดมากกว่า 90% (ในช่วงความเข้มข้นเท่ากับ 5-20 ppm) ที่ปริมาณคาร์บอนเท่ากับ 2.0 g/L ภายใต้ pH ที่เป็นกลาง เมื่อทำการศึกษาแบบจำลองการดูดซับพบว่าไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กสอดคล้องกับแบบจำลองไอโซเทอมของ Langmuir และ Temkin และแบบจำลองทางจลน์พลศาสตร์แบบ PSO นอกจากนี้การศึกษาแบบจำลองทางเทอร์โมไดนามิกส์พบว่ากระบวนเป็นแบบดูดความร้อน สามารถเกิดขึ้นได้เอง และกลไกการดูดซับเป็นแบบเคมี-
dc.description.abstractalternativeIn this research, corn husks were used as a carbon precursor to produce magnetic biochar materials. The prepared adsorbents were used for removal of paraquat from aqueous solutions. The magnetic biochar materials were prepared by impregnation of 0.10 M Fe(NO3)3 onto corn husks and followed by carbonization under nitrogen atmosphere. The adsorbents were characterized by nitrogen adsorption-desorption, scanning electron microscope, thermogravimetric analysis, x-ray diffraction, vibrating sample magnetometer, and other techniques. The prepared biochar showed good magnetic properties and the presence of Fe(NO3)3 highly enhanced its mesoporous carbon framework with a large specific surface area and mesopore volume of 275 m2/g and 0.30 cm3/g, resulting in a high adsorption capacity compared to an adsorbent without such a mesoporous structure. The maximum adsorption capacity and %removal of paraquat were 34.43 mg/g and reached 90 % approximately in the range of concentration 5-20 ppm respectively, at a carbon dosage of 2.0 g/L under neutral pH. Adsorption equilibrium data correlated with Langmuir and Temkin isotherm and Pseudo-second-order kinetic model. The study of thermodynamics model of adsorption found the process to be spontaneous, endothermic, and chemical.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1185-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationChemical Engineering-
dc.titleการดูดซับสารพาราควอตโดยไบโอชาร์ที่มีสมบัติแม่เหล็กซึ่งได้จากเปลือกข้าวโพด -
dc.title.alternativeParaquat Adsorption By Magnetic Biochar Derived From Corn Husk-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorNattaporn.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1185-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070331921.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.