Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ-
dc.contributor.authorยลนภา พลชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialอุดรธานี-
dc.date.accessioned2008-03-25T03:04:38Z-
dc.date.available2008-03-25T03:04:38Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418515-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6383-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ 2. เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับ การสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์และกลุ่มที่ได้รับ การสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบปกติ 3. เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการเรียน คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอน โดยการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์และกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรม การเรียน การสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวังสามหมอ วิทยาคาร อำเภอวังสามหมอ จังหวอุดรธานี ปีการศึกษา 2548 จำนวน 2 กลุ่ม เป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง 35 คน และกลุ่มควบคุม 36 คน ซึ่งนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการ สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ และนักเรียนในกลุ่มควบคุมได้รับการสอนโดยการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดมโนทัศน์ ทางคณิตศาสตร์ และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่า มัชฌิมเลขคณิต ค่ามัชฌิมเลขคณิตร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ มีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ กำหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ คือ สูงกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบ วัดมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ มีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียน ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ มีความคงทนในการเรียนคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1. to study mathematics concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model; 2. to compare mathematics concepts of eighth grade students between groups being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model and being taught by organizing mathematics instruction activity using conventional approach; 3 to compare mathematics learning retention of eighth grade students between groups being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model and being taught by organizing mathematics instruction activity using conventional approach. The subjects were eighth grade students in academic year 2005 in Wangsammor witthayakan School, Udonthani Province. They were divided into two groups, one experimented group with 35 students and the other controlled group with 36 students. Students in experimental group were taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model and those in control group were taught by organizing mathematics instruction activity using conventional approach. The research instruments were the mathematics concept test and the mathematics learning achievement test. The data were analyzed by means of arithmetic means, mean of percentage, standard deviation and t test. The results of the study revealed that :1. Mathematics concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model were higher than minimum criteria of 50 percent. 2. Mathematics concepts of eighth grade students being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model were higher than those of students being taught by organizing mathematics instruction activity using conventional approach at 0.05 level of significance. 3. Mathematics learning retentions of eighth grade students between groups being taught by organizing mathematics instruction activity using the concept attainment model were higher than those of students being taught by organizing mathematics instruction activity using conventional approach at 0.05 level of significance.en
dc.format.extent1624725 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน(มัยธยมศึกษา) -- อุดรธานีen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน -- กิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้โมเดลการได้มาซึ่งมโนทัศน์ที่มีต่อมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์และความคงทนในการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดอุดรธานีen
dc.title.alternativeEffects of using the concept attainment model in organizing mathematics instructional activities on mathematics concepts and learning retention of eighth grade students in Udon Thani Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorusuwattana@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yolnapa.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.