Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนัย ทายตะคุ-
dc.contributor.advisorอังสนา บุณโยภาส-
dc.contributor.authorสิริมา ณ สงขลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-25T06:15:15Z-
dc.date.available2020-03-25T06:15:15Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740315283-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64442-
dc.description.abstractเนื่องจากวิธีการและแบบจำลองที่ใช้ในการวิเคราะห์และการประเมินคุณภาพทางสายตาโดยผู้เชี่ยวชาญมีความหลากหลายและซับซ้อน เนื่องจากทฤษฎีที่ใช้มีความแตกต่างกันหลายสาขาวิชาและกระบวนการในการวิเคราะห์และการประเมินมาจากวัตถุประสงค์ของแบบจำลองที่แตกต่างกันจึงทำให้การประเมินคุณภาพทางสายตาโดยผู้เชี่ยวชาญไม่ครอบคลุมประเด็นในด้านกรอบความคิดทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ต้องการที่จะทำการเสาะแสวงหาวิธีการสำหรับการประเมินคุณภาพทางสายตาของผู้เชี่ยวชาญที่มีความครอบคลุมทางทฤษฎีมากขึ้น โดยประยุกต์จากการเปรียบเทียบแบบจำลองของผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและออกแบบภูมิทัศน์ ในการประเมินลักษณะทางภูมิทัศน์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน วิธีการวิจัยถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่แบบจำลองเชิงปริมาณหรือเชิงปริภูมิเพื่อหาพื้นที่ขอบเขตการมองเห็นจากตำแหน่งที่สำกัญ ส่วนที่สองได้แก่แบบจำลองเชิงคุณภาพหรือเชิงความเห็น เป็นการสำรวจความพึงพอใจต่อลักษณะของภูมิทัศน์จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้ภาพถ่ายภูมิทัศน์เป็นตัวแทนลักษณะทางภูมิทัศน์ของพื้นที่ศึกษา เพื่อนำไปวิเคราะห์ เปรียบเทียบศักยภาพและข้อจำกัดของแบบจำลองทั้งสองประเภท ผลที่ได้จากการศึกษาได้แก่: 1) การกำหนดพื้นที่ที่มีระดับความอ่อนไหวทางสายตาที่แตกต่างกันจากการวิเคราะห์แบบจำลองเชิงปริภูมิ 2) กลุ่มของเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินประเมินคุณภาพทางสายตาของภูมิทัศน์โดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งคาดว่าน่าจะมีผลต่อความพึงพอใจและความงามของภูมิทัศน์และเป็นคุณลักษณะทางสายตาขององค์ประกอบเชิงปริภูมิ และ 3)การนำเสนอแนวความคิดและความเป็นไปได้ต่อกระบวนการในการวิเคราะห์และประเมินคุณภาพทางสายตา จากการรวมวิธีการทั้งสองวิธีเพื่อการประเมินคุณภาพทางสายตาที่เป็นกลางและเพื่อพัฒนาแบบจำลองเชิงปริภูมิในการวิเคราะห์และการประเมินคุณภาพทาง สายตาในการนำไปใช้วางแผนภูมิทัศน์ต่อไป-
dc.description.abstractalternativeIn visual assessment, varies methods are used by experts. The different methodologies represent variation among disciplines and related theories. As a result, each methodology can only represent the specific point of view rather than the broader theoretical framework. This study is aimed to explore methods for visual analysis and assessment used by the experts. In order to examine all the relevant theoretical approaches, this study compare the body of theories; expert’s model components and structures; and the patterns of the way expert model constructed. This approach has been applied to the case of Mae Hong Son landscapes. This study is able to classify to two methods. The first method is quantitative spatial modeling using geographic information system (GIS). The method is to analyze the visible area from the selected vantage points. The second method is qualitative preferential modeling that explores the experts' visual landscape preference using photograph ranking method. Finally, this research explores the potential and constraint of each model. The results of the study are:1) the identification of visual sensitivity level by spatial modeling using GIS ; 2) the further research question generated by this research is how the sets of criteria assessing by the experts in relation to visual landscape preference; and 3) the suggestion of possibility in integrating visual preference to spatial model.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.322-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภูมิทัศน์en_US
dc.subjectการประเมินภูมิทัศน์en_US
dc.subjectLandscapesen_US
dc.subjectLandscape assessmenten_US
dc.titleการประยุกต์แบบจำลองเชิงปริภูมิ เพื่อการวิเคราะห์และการประเมินคุณภาพทางสายตาในงานภูมิทัศน์en_US
dc.title.alternativeThe application of spatial model for landscape visual analysis and assessmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDanai.Th@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAngsana.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.322-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirima_na_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และภาคผนวก920.47 kBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch1_p.pdfบทที่ 1738.61 kBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch2_p.pdfบทที่ 22.52 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch3_p.pdfบทที่ 32.79 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch4_p.pdfบทที่ 44.01 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch5_p.pdfบทที่ 51.01 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_ch6_p.pdfบทที่ 61.12 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_na_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.