Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorนนทยา พงศ์ผกาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทคศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-29T07:45:51Z-
dc.date.available2020-03-29T07:45:51Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740314228-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64507-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบคุณลักษณะของบรรณาธิการ กลุ่มผู้แปลและกระบวนการผลิตการ์ตูนที่แปลจากภาษาญี่ปุ่น และเพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างเพศที่ ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นโดยนำผลการวิเคราะห์มาเปรียบเทียบกับแนวทางของนักจิตวิทยา โดยใช้การศึกษา วิจัยเชิงคุณภาพ แนวคิดเรื่องจิตวิทยาความรักและความสัมพันธ์ แนวคิด เรื่องบริบทสังคมญี่ปุ่น แนวคิดเรื่องสัญญะวิทยา และแนวคิดเรื่องกระบวนการผลิตการ์ตูนที่แปลจากภาษาญี่ปุ่น เพื่อเป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ในการผลิตการ์ตูนที่แปลจากภาษาญี่ปุ่นมีกระบวนการผลิตอยู่ 4 ขั้นตอน สำหรับหนังสือการ์ตูนจะมีขั้นตอนดังนี้ 1) กระบวนการจัดเลือก 2) กระบวนการแปล 3)กระบวนการเปลี่ยนภาษาญี่ปุ่นในภาพ 4) กระบวนการเรียงพิมพ์ สำหรับหนังวีซีดีการ์ตูนมีขั้นตอนคล้ายกันคือ 1) กระบวนการจัดเลือก 2) กระบวนการแปล 3) กระบวนการพากย์ 4) กระบวนการผสมเสียงให้เข้ากับเสียงในหนัง ซึ่งในแต่ละกระบวนการต้องให้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนั้นๆ ดูแลจัดการเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพออกมา ในส่วนรองรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างเพศที่ปรากฏในการ์ตูนนั้นมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของตัวละครว่าจะดำเนินความสัมพันธ์ไปในทิศทางใด ทำให้การพัฒนาความสัมพันธ์จึงดำเนินไปไม่เหมือนกัน แต่อย่างไรก็ตามขั้นตอนการดำเนินความสัมพันธ์เป็นไปตามแนวคิดจิตวิทยาความรักและความสัมพันธ์ โดยมีลำดับการดำเนินความสัมพันธ์ไม่เหมือนกันแต่มีรูปแบบการแสดงความรักคล้ายกันคือ การห่วงใยเอื้ออาทร การสัมผัสตัวกัน ไปจนถึงการมีความสัมพันธ์ทางเพศ เมื่อนำผลการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์เปรียบเทียบกับแนวทางของนักจิตวิทยาแล้วพบว่า นักจิตวิทยาเห็นว่าพฤติกรรมที่นำเสนอมาไม่เหมาะกับบริบทสังคมไทย, สถานการณ์, สถานที่, เพศและวัย-
dc.description.abstractalternativeThis research objective were to know of characteristic of editor, translators and process of producing Japanese comic in Thai version. Also studied and analyzed intersex relation that appeared in Japanese comic by compared results of analysis to psychologist's. The study employed qualitative research and used the concept of process of producing Japanese comic in Thai version, love's psychology and relation, Japanese society, and semiology as the conceptual framework for data analysis. The research results shown that production of Japanese comic books in Thai version had 4 processes as following: 1) selecting 2) translating 3) replacing Japanese words with Thai 4) composing type. For comic VCD, there were also 4 processes as compromising: 1) selecting 2) translating 3) commenting 4) mixing sound. The specialists were required for each process for the great quality of Japanese comic in Thai version. For inter-sex relation which appeared in Japanese comic, It was changeable by situation which depended on decision of character to find their own way. So that the development was different. However, the process of inter-sex relation was the same as the concept of love's psychology and relation. Although the order of the process was different, the patterns of love were the same such as caring, affection and genitalxity. By compared results of analysis to psychologist's, found that behaviors which appeared in Japanese comic in Thai version were unacceptable for Thai social, situation, place, sex, and age.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectหนังสือการ์ตูน -- ญี่ปุ่น -- การแปล-
dc.subjectเพศในวรรณกรรม-
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุรุษกับสตรีในวรรณกรรม-
dc.subjectComic books, strips, etc. -- Japan -- Translation-
dc.subjectSex in literature-
dc.subjectMan-woman relationships in literature-
dc.titleการสื่อสารเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเพศในการ์ตูนญี่ปุ่น-
dc.title.alternativeCommunication for sex education in Japanese comics-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nontaya_po_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ871.48 kBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch1_p.pdfบทที่ 1934.1 kBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch2_p.pdfบทที่ 21.06 MBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch3_p.pdfบทที่ 3883.53 kBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch4_p.pdfบทที่ 42.21 MBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch5_p.pdfบทที่ 51.51 MBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch6_p.pdfบทที่ 62.89 MBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch7_p.pdfบทที่ 7728.63 kBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_ch8_p.pdfบทที่ 8688.19 kBAdobe PDFView/Open
Nontaya_po_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.