Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65464
Title: Spatial variability of available micronutrients in burning and non-burning paddy soils
Other Titles: ความผันแปรเชิงพื้นที่ของธาตุอาหารเสริมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดินนาข้าวที่มีการเผาและไม่เผา
Authors: Boonyaporn Juethong
Advisors: Pasicha Chaikaew
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Pasicha.C@chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: An open burning in paddy field is a conventional way to remove stubbles and prepare for the next crop cycle, yet a controversial issue about available micronutrients in soils remains, in particular, in a long-term burned field. This study aimed to i) compare available concentrations of Cu, Fe, Mn and Zn between burning and non-burning paddy soil, ii) assess the relationship of micronutrient availability and soil properties, iii) map the spatial distribution of soil micronutrients. Two sets of soil samples, a total of 40, were collected from two paddy fields based on minimum consecutive five-year periods of burning versus non-burning practices. Available Cu, Fe, Mn and Zn were obtained by diethylenetriaminepentaacetic acid (DTPA) extraction method. Mean available micronutrients were as follows: Fe>Mn>Cu>Zn. Abundant concentrations of Cu, Fe, and Mn were sufficient for growing rice in both sites; however, they were significantly greater in burning paddy field as compared to non-burning field. Zn deficiency occurred across paddy farming soils. On the basis of results obtained, Strategies to improve Zn availability are required.
Other Abstract: ในประเทศไทยมีวิธีการจัดการฟางข้าวในพื้นที่นาโดยวิธีการเผาในพื้นที่เปิดโล่งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับการเพาะปลูกในครั้งต่อไป ซึ่งยังมีข้อสงสัยถึงผลกระทบของการจัดการโดยการเผาต่อความเข้มข้นธาตุอาหารเสริมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชที่มีอยู่ในดินนาข้าว โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 เปรียบเทียบความเข้มข้นของธาตุอาหารเสริมทองแดง เหล็ก แมงกานีส และสังกะสี ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ระหว่างพื้นที่นาที่มีการจัดการโดยการเผา และไม่เผา 2. ประเมินความสัมพันธ์ของธาตุอาหารเสริมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชกับคุณสมบัติของดิน 3. ทำแผนที่แสดงการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของธาตุอาหารเสริมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชของพื้นที่นาที่มีการเผา และไม่เผาวิธีการเก็บตัวอย่างดินดำเนินการโดยเก็บตัวอย่างดินนา 2 ชุดตัวอย่าง จำนวนทั้งหมด 40 ตัวอย่างโดยตัวอย่างนาเผาเก็บตัวอย่างจากนาข้าวที่มีการเผาอย่างน้อย 5 ปี ติดต่อกัน และตัวอย่างนาไม่เผาชุดละ 20 ตัวอย่าง ที่ระดับความลึก 30 เซนติเมตร ซึ่งวิเคราะห์ความเข้มข้นของธาตุอาหารเสริมทองแดง, เหล็ก, แมงกานีส และสังกะสี ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช โดยวิธีการสกัดด้วย Diethylenetriaminepentaacetic acid (DTPA) จากการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยของธาตุอาหารเสริมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชมีค่าเรียงจากมากไปน้อยดังนี้ เหล็ก>แมงกานีส>ทองแดง>สังกะสี ความเข้มข้นของธาตุอาหารเสริมทองแดง, เหล็ก และแมงกานีส ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช นั้นเพียงพอต่อการเพาะปลูกข้าว โดยในพื้นที่นาเผานั้นมีความเข้มข้นของธาตุอาหารเสริมมากกว่าพื้นที่นาที่ไม่เผาอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ดินนาทั้งสองพื้นที่ขาดธาตุสังกะสีที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ดังนั้นจึงควรมีแนวทางในการปรับปรุงปริมาณธาตุสังกะสีที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในพื้นที่นา
Description: In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Program in Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2018
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65464
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonyaporn Ju_Se_2561.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.