Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.authorมนัสวี โพธิ์ทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-08T08:28:10Z-
dc.date.available2020-05-08T08:28:10Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741735545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65690-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีรูปแบบการคิดแตกต่างกัน ที่ได้รับวิธีการสอนต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง บรรยากาศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดเขียนเขต จังหวัดปทุมธานี ซึ่งได้มาโดยการให้นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบเดอะกรุ๊ปเอมเบดเดด ฟิกเกอร์ เทสท์ หรือ จีอีเอฟที (The Group Embedded Figure Test : GEFT) ของฟิลิป เค โอลท์แมน เอวิเลียน แรสกิน และเฮอร์แมน เอ วิทกิน เพื่อแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มแบบการคิดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนซ์ (FD) และกลุ่มแบบการคิดแบบฟิลด์ อินดิเพนเดนซ์ (FI) มากลุ่มละ 40 คน แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อเข้าสู่กลุ่มทดลองกลุ่มละ 20 คน รวม 4 กลุ่ม เป็นจำนวน 80 คน เพื่อเข้ารับการทดลองโดยเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง บรรยากาศ ที่มีวิธีการสอนต่างกัน 2 แบบ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนซ์ (FD) โดยเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีการเสนอเนื้อหาแบบนิรนัย กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนซ์ (FD) โดยเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่มีการเสนอเนื้อหาแบบอุปนัย กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ อินดิเพนเดนซ์ (FI) โดยเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีการเสนอเนื้อหาแบบนิรนัย กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ อินดิเพนเดนซ์ (FI) โดยเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีการเสนอเนื้อหาแบบอุปนัยนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่มีรูปแบบการคิดต่างกันเมื่อเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีวิธีการสอนต่างกัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3. นักเรียนที่มีรูปแบบการคิดต่างกันเมื่อเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีวิธีการสอนต่างกันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the learning achievement of mathayom suksa three students with different cognitive styles on different teaching methods in Computer-Assisted Instruction on “Atmosphere”. The samples were 80 students of Watkieankate School in Pathumthani, They were given the Group Embedded Figures Test (GEFT) to identify field dependence/independence and randomly divided into four experimental groups, each group consisted of 20 students as follows : (1 ) FD studying of deductive approach in Computer- Assisted Instruction, (2) FD studying of inductive approach in Computer-Assisted Instruction, (3) FI studying of deductive approach in Computer-Assisted Instruction, (4) FI studying of inductive approach in Computer-Assisted Instruction. The collected data were analyzed by using Two-Way Analysis of Variance. The results were as the follows : 1. There was statistically significant difference at 0.05 level on learning achievement of students with different cognitive styles learning from Computer-Assisted Instruction. 2. There was no statistically significant difference at 0.05 level on learning achievement of students learning from Computer-Assisted Instruction lesson with different teaching methods. 3. There was no interactive between cognitive styles and Computer-Assisted Instruction lesson with different teaching methods upon achievement.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectแบบการคิดen_US
dc.subjectบรรยากาศ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectComputer-assisted instructionen_US
dc.subjectAcademic achievementen_US
dc.subjectCognitive stylesen_US
dc.subjectAtmosphere -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleผลของการใช้นิรนัยและอุปนัยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง บรรยากาศ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีรูปแบบการคิดต่างกันen_US
dc.title.alternativeEffects of deductive and inductive approaches in computer-assisted instruction on atmosphere upon learning achievement of mathayom suksa three students with different cognitive stylesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manatsawee_ph_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ798.62 kBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_ch1_p.pdfบทที่ 1853.19 kBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_ch2_p.pdfบทที่ 22.2 MBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_ch3_p.pdfบทที่ 3746.12 kBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_ch4_p.pdfบทที่ 4644.77 kBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_ch5_p.pdfบทที่ 5819.96 kBAdobe PDFView/Open
Manatsawee_ph_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.